ไทโอยูเรีย
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก Thiourea)
| |||
ชื่อ | |||
---|---|---|---|
Preferred IUPAC name
Thiourea[1] | |||
ชื่ออื่น
Thiocarbamide
| |||
เลขทะเบียน | |||
3D model (JSmol)
|
|||
605327 | |||
ChEBI | |||
ChEMBL | |||
เคมสไปเดอร์ | |||
ECHA InfoCard | 100.000.494 | ||
1604 | |||
KEGG | |||
ผับเคม CID
|
|||
RTECS number |
| ||
UNII | |||
UN number | 2811 | ||
CompTox Dashboard (EPA)
|
|||
| |||
| |||
คุณสมบัติ | |||
CH4N2S | |||
มวลโมเลกุล | 76.12 g/mol | ||
ลักษณะทางกายภาพ | ของแข็งสีขาว | ||
ความหนาแน่น | 1.405 g/mL | ||
จุดหลอมเหลว | 182 องศาเซลเซียส (360 องศาฟาเรนไฮต์; 455 เคลวิน) | ||
142 g/L (25 °C) | |||
−4.24×10−5 cm3/mol | |||
ความอันตราย | |||
GHS labelling: | |||
เตือน | |||
H302, H351, H361, H411 | |||
P201, P202, P264, P270, P273, P281, P301+P312, P308+P313, P330, P391, P405, P501 | |||
NFPA 704 (fire diamond) | |||
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |||
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
|
ยูเรีย | ||
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ไทโอยูเรีย (Thiourea; สูตรโครงสร้าง: SC(NH2)2) เป็นสารอินทรีย์ที่มีกำมะถันหรือออร์กาโนซัลเฟอร์ชนิดหนึ่ง โครงสร้างคล้ายกับยูเรีย ยกเว้นออกซิเจนอะตอมหนึ่งของยูเรียถูกแทนที่ด้วยกำมะถัน การออกฤทธิ์ของสารทั้งสองต่างกันมาก โดยไทโอยูเรียจะใช้เป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์สารเคมี ไทโอยูเรียมักจะหมายถึงกลุ่มของสารเคมีที่มีโครงสร้างทั่วไปเป็น (R1R2N)(R3R4N)C=S ไทโอยูเรียมีความเกี่ยวข้องกับไทโอเอมีนเมื่อ เช่น RC(S)NR2, เมื่อ R เป็น หมู่เมทิล, หมู่เอทิล
การใช้ประโยชน์
[แก้]ในทางการเกษตร ไทโอยูเรียจัดเป็นสารสังเคราะห์ที่มีฤทธิ์กระตุ้นการงอกของเมล็ดและเร่งการออกดอกและการแตกตาอ่อน เช่น เมื่อแช่ในในไทโอยูเรีย จะกระตุ้นการงอกของเมล็ดมะเขือเปราะ[2] และเมื่อยดูก[3]การฉีดพ่นสารละลายไทโอยูเรียทางใบช่วยให้ส้มโอออกดอกได้มากขึ้น[4] และกระตุ้นการแตกตาในเงาะโรงเรียน[5]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Favre, Henri A.; Powell, Warren H. (2014). Nomenclature of Organic Chemistry: IUPAC Recommendations and Preferred Names 2013 (Blue Book). Cambridge: Royal Society of Chemistry. pp. 98, 864. doi:10.1039/9781849733069. ISBN 9780854041824. OCLC 1077224056.
- ↑ ณิฏฐ์ศิริ สุยสุวรรณ และ ภัญชนา มีแก้วกุญชร. 2536. ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีต่อการงอกและผลผลิตของมะเขือเปราะ. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31, 3-6 กุมภาพันธ์ 2536
- ↑ ภูวดล บุตรรัตน์ และ อาคม วังเมือง. 2550. ผลของอุณหภูมิและสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชบางชนิดที่มีต่อการเจริญของเอ็มบริโอและการงอกของเมล็ดพืชสกุลนีตั้ม. การประชุมวิชาการนเรศวรวิจัยครั้งที่ 3. 28 -29 กรกฎาคม 2550 มหาวิทยาลัยนเรศวร. 9 หน้า
- ↑ รุ่งนภา ทวนทอง และ วิจิตร วรรณชิต. 2551. ผลของสารพาโคลบิวทราโซลและไทโอยูเรียต่อการออกดอกและติดผลของส้มโอพันธุ์หอมหาดใหญ่. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 39 (3) (พิเศษ), 74 - 77
- ↑ ศิราณี ศรีวิเชียร สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง และสุรพล ฐิติธนากุล. 2551. ผลของสารไทโอยูเรียต่อการแตกตาของเงาะพันธุ์โรงเรียน. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 39 (3), (พิเศษ), 69 -72
อ่านเพิ่ม
[แก้]- Patai, Saul (1977). The Chemistry of Double-Bonded Functional Groups. New York, NY: John Wiley & Sons. pp. 1355–1496. ISBN 9780471924937. OCLC 643207498.