เทลส์ออฟเซสทิเรีย
เทลส์ออฟเซสทิเรีย | |
---|---|
ผู้พัฒนา | บันไดนัมโคสตูดิโอส์ |
ผู้จัดจำหน่าย | บันไดนัมโคเอนเตอร์เทนเมนต์ |
กำกับ |
|
อำนวยการผลิต | Hideo Baba[1] |
ออกแบบ |
|
ศิลปิน |
|
เขียนบท |
|
แต่งเพลง | |
ชุด | เทลส์ |
เครื่องเล่น | |
วางจำหน่าย | |
แนว | แอ็กชันเล่นตามบทบาท |
รูปแบบ | ผู้เล่นคนเดียว, หลายผู้เล่น |
เทลส์ออฟเซสทิเรีย (ญี่ปุ่น: テイルズ オブ ゼスティリア; โรมาจิ: Teiruzu Obu Zesutiria) เป็นวิดีโอเกมแนวแอ็กชันเล่นตามบทบาท ตัวเกมเป็นเกมภาคหลักลำดับที่สิบห้าในซีรีส์ เทลส์ พัฒนาและจัดจำหน่ายโดยบันไดนัมโคเอนเตอร์เทนเมนต์ วางจำหน่ายในเดือนมกราคม 2015 ในญี่ปุ่นสำหรับเครื่องเพลย์สเตชัน 3 และสำหรับฝั่งตะวันตกในเดือนตุลาคมของปีเดียวกัน ตัวเกมยังถูกพอร์ตลงเพลย์สเตชัน 4 และ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ผ่านสตีม เวอร์ชันเพลย์สเตชัน 4 วางจำหน่ายในญี่ปุ่นในเดือนกรกฎาคม 2016 เช่นเดียวกับเกมก่อนหน้าในซีรีส์ เทลส์ ตัวเกมใช้รูปแบบของระบบลิเนียร์โมชันแบตเทิลซิสเต็มแบบแอ็กชันที่มีองค์ประกอบเพิ่มเติมรวมถึงระบบโอเพนเวิลด์ที่สามารถนำทางได้ และความสามารถของตัวละครบางตัวในการหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวในการต่อสู้เพื่อส่งมอบการโจมตีที่ทรงพลัง
ตัวเกมเริ่มการพัฒนาในปี 2012[7] โดยเป็นเกมฉลองครบรอบ 20 ปีของซีรีส์ เทลส์[8] โดยเป็นการกลับมาที่ธีมหลักของซีรีส์ ซึ่งเรื่มจาก เทลส์ออฟแฟนตาเซีย ซึ่งเป็นเกมแรกของซีรีส์ และนำเสนอระบบเกมที่ปรับปรุงใหม่ นักพัฒนาเกมหลายคนจากเกม เทลส์ ก่อนหน้านี้กลับมาอีกครั���ง ทั้งโปรดิวเซอร์ Hideo Baba, โปรแกรมเมอร์การต่อสู้ Tatsuro Udo, นักออกแบบ Kōsuke Fujishima และ Mutsumi Inomata และนักแต่งเพลง Motoi Sakuraba และ Go Shiina เทลส์ออฟเซสทิเรีย ได้รับกระแสในเชิงบวกในนิตยสารเกมของญี่ปุ่น และทำยอดขายไปแล้วกว่า 400,000 ชุดในสัปดาห์แรกหลังการวางจำหน่าย[9] ทางฝั่งตะวันตกมีการวิจารณ์ในทางบวกไปในทำนองเดียวกัน โดยคำวิจารณ์โดยส่วนใหญ่ชื่นชมยังระบบการต่อสู้ ในขณะที่เนื้อเรื่องและการนำเสนอได้รับคำวิจารณ์ที่ผลมกัน แม้จะได้รับการชื่นชม แต่ตัวเกมก็ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์จากแฟน ๆ ในญี่ปุ่นถึงการจัดการตัวละครของเกม[7][10]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Sato (4 January 2014). "Tales of Zestiria Producer Shares More Information On The Game's Heroine". Siliconera. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 February 2015. สืบค้นเมื่อ 9 April 2014.
- ↑ Romano, Sal (16 December 2013). "Tales of Graces lead planner involved in Tales of Zestiria". Gematsu. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 September 2015. สืบค้นเมื่อ 30 November 2014.
- ↑ 3.0 3.1 Tony (3 August 2014). "AnimagiC 2014: Our interview with Hideo Baba". JPGames. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 August 2014. สืบค้นเมื่อ 4 August 2014.
- ↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 Dunning, Jason (12 June 2015). "Tales of Zestiria PS4 Version Confirmed, PS4 & PS3 Release Date Revealed". PlayStation LifeStyle. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 June 2015. สืบค้นเมื่อ 12 June 2015.
- ↑ "Mikako Komatsu to Play Tales of Zestiria's Rosé". Anime News Network. 10 September 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 October 2015. สืบค้นเมื่อ 10 September 2014.
- ↑ Romano, Sal (1 May 2016). "Tales of Zestiria for PS4 launches July 7 in Japan". Gematsu. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 May 2016. สืบค้นเมื่อ 2 May 2016.
- ↑ 7.0 7.1 "【TpGS 15】馬場英雄來台宣傳《時空幻境 熱情傳奇》20 週年紀念卡拉 OK 大賽舉辦" [[TpGS 15] Hideo Baba come to Taiwan for publicity A Kara OK contest of Tales of Zestiria 20th anniversary is held] (ภาษาจีน). Gamer.com.tw. 29 January 2015. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 January 2015. สืบค้นเมื่อ 30 January 2015.
- ↑ Robson, Daniel (26 June 2014). "Why 90% of Fans at Tales of Festival Are Female". IGN. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-07-01. สืบค้นเมื่อ 15 July 2014.
- ↑ Sato (27 January 2015). "Tales of Zestiria To Get A DLC Episode About What Happens To Alisha After The Game [Update]". Siliconera. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 January 2015. สืบค้นเมื่อ 27 January 2015.
- ↑ Woo, Jesse (4 February 2015). "Tales of Zestiria's Controversial DLC is not an Epilogue". RPGFan. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 September 2015. สืบค้นเมื่อ 6 February 2015.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- Official website (ในภาษาญี่ปุ่น)
- TV anime series official website (ในภาษาญี่ปุ่น)
- 'Tales of Zestiria' English portal