ข้ามไปเนื้อหา

รายพระนามรัชทายาทอังกฤษ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รายพระนามรัชทายาทอังกฤษ นี่คือรายนามบุคคลในช่วงเวลาต่างๆ ที่จะอยู่ในลำดับถัดไปในการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ เมื่อพระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันสวรรคต บรรดาผู้ที่ได้สืบราชบัลลังก์จริงๆจะเป็นตัวอักษรหนา ส่วนทารกที่คลอดออกมาแล้วสิ้นชีวิตหรือรอดชีวิตไม่น้อยกว่าหนึ่งเดือนจะไม่ถูกนับรวมไว้ในรายนามนี้

อาจจะถูกตั้งข้อสังเกตว่าการสืบราชสันตติวงศ์นั้นไม่มั่นคง และไม่ได้รับการควบคุมจากขนบธรรมเนียมประเพณี ซึ่งมีมาเป็นศตวรรษนับตั้งแต่การพิชิตอังกฤษของชาวนอร์มัน ในปีค.ศ. 1066

ค.ศ. 1066 ถึง 1135

[แก้]
รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ ค.ศ. 1066 - 1135
พระรูป รัชทายาท สถานะ ความสัมพันธ์กับพระมหากษัตริย์ เริ่มเป็นรัชทายาท สิ้นสุดการเป็นรัชทายาท พระมหากษัตริย์
วันที่ เหตุผล วันที่ เหตุผล
โรเบิร์ต เคอร์ทโฮส ทายาทโดยสันนิษฐาน พระโอรส ค.ศ. 1066 พระบิดาเป็นพระมหากษัตริย์ ค.ศ. 1077 ถูกเนรเทศ พระเจ้าวิลเลียมที่ 1
สายราชสันตติวงศ์ไม่ชัดเจน ค.ศ. 1077-1087
โรเบิร์ต เคอร์ทโฮส ทายาทโดยสันนิษฐาน พระเชษฐาองค์โต ค.ศ. 1087 โดยข้อตกลง ค.ศ. 1088 ล้มเหลวในการก่อกบฏ พระเจ้าวิลเลียมที่ 2
เฮนรี โบเคร็ค ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา ค.ศ. 1088 การก่อกบฏของโรเบิร์ต 2 สิงหาคม ค.ศ. 1100 เป็นพระมหากษัตริย์เนื่องจากพระเชษฐาสวรรคตโดยไร้ทายาท
สายราชสันตติวงศ์ไม่ชัดเจน ค.ศ. 1100-1103 พระเจ้าเฮนรีที่ 1
วิลเลียม อเดลิน ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส ค.ศ. 1103 ประสูติ 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1120 สิ้นพระชนม์
จักรพรรดินีมาทิลดา ทายาทโดยสันนิษฐาน พระธิดา 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1120
อ้างสิทธิในปีค.ศ. 1127
พระอนุชาสิ้นพระชนม์ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1135
(22 ธันวาคม ค.ศ. 1135)
กลายเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์
(ราชบัลลังก์ถูกช่วงชิงโดยสตีเฟนแห่งบลัว ผู้เป็นพระญาติ)

ค.ศ. 1135 ถึง 1199

[แก้]
รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ ค.ศ. 1135 - 1199
พระรูป รัชทายาท สถานะ ความสัมพันธ์กับพระมหากษัตริย์ เริ่มเป็นรัชทายาท สิ้นสุดการเป็นรัชทายาท พระมหากษัตริย์
วันที่ เหตุผล วันที่ เหตุผล
- อุสเทซที่ 4 แห่งบูลอญ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรสองค์โต 22 ธันวาคม ค.ศ. 1135 พระบิดาเป็นพระมหากษัตริย์ 17 สิงหาคม ค.ศ. 1153 สิ้นพระชนม์ พระเจ้าสตีเฟน
- วิเลียมแห่งบลัว ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรสองค์ที่สาม 17 สิงหาคม ค.ศ. 1153 พระเชษฐาสิ้นพระชนม์ พฤศจิกายน ค.ศ. 1153 สนธิสัญญาวอลลิงฟอร์ด
เฮนรี เคิร์ทแมนเทิล เคานท์แห่งอองชู ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระญาติ พฤศจิกายน ค.ศ. 1153 สนธิสัญญาวอลลิงฟอร์ด 25 ตุลาคม ค.ศ. 1154 เป็นพระมหากษัตริย์
- วิลเลียมที่ 9 เคานท์แห่งปัวติเยร์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรสองค์โต 25 ตุลาคม ค.ศ. 1154 พระบิดาเป็นพระมหากษัตริย์ เมษายน ค.ศ. 1156 สิ้นพระชนม์ พระเจ้าเฮนรีที่ 2
เฮนรียุวกษัตริย์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส เมษายน ค.ศ. 1156 พระเชษฐาสิ้นพระชนม์ 11 มิถุนายน ค.ศ. 1183 สิ้นพระชนม์
ริชาร์ด ดยุกแห่งอากีแตน ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 11 มิถุนายน ค.ศ. 1183 พระเชษฐาสิ้นพระชนม์ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1189 เป็นพระมหากษัตริย์
อาเทอร์ที่ 1 ดยุกแห่งบริตานี ทายาทโดยสันนิษฐาน พระนัดดา 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1189 พระปิตุลาเป็นพระมหากษัตริย์ 6 เมษายน ค.ศ. 1199 ราชบัลลังก์ถูกช่วงชิงโดยพระปิตุลาองค์เล็ก เจ้าชายจอห์น แล็คแลนด์ พระเจ้าริชาร์ดที่ 1

ค.ศ. 1199 ถึง 1399

[แก้]
รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ ค.ศ. 1199 - 1399
พระรูป รัชทายาท สถานะ ความสัมพันธ์กับพระมหากษัตริย์ เริ่มเป็นรัชทายาท สิ้นสุดการเป็นรัชทายาท พระมหากษัตริย์
วันที่ เหตุผล วันที่ เหตุผล
เฮนรีที่ 5 เคานท์พาลาทีนแห่งไรน์ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระนัดดา 6 เมษายน ค.ศ. 1199 พระปิตุลาเป็นพระมหากษัตริย์ 1 ตุลาคม ค.ศ. 1207 พระมหากษัตริย์มีพระโอรส พระเจ้าจอห์น
เจ้าชายเฮนรีแห่งวินเชสเตอร์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรสองค์โต 1 ตุลาคม ค.ศ. 1207 ประสูติ 19 ตุลาคม ค.ศ. 1216 เป็นพระมหากษัตริย์
ริชาร์ด เอิร์ลที่ 1 แห่งคอร์นวอลล์ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 19 ตุลาคม ค.ศ. 1216 พระเชษฐาเป็นพระมหากษัตริย์ 17 มิถุนายน ค.ศ. 1239 พระมหากษัตริย์มีพระโอรส พระเจ้าเฮนรีที่ 3
เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด ลองแชงค์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรสองค์โต 17 มิถุนายน ค.ศ. 1239 ประสูติ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1272 เป็นพระมหากษัตริย์
เจ้าชายเฮนรี ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรสองค์โต 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1272 พระบิดาเป็นพระมหากษัตริย์ 16 ตุลาคม ค.ศ. 1274 สิ้นพระชนม์ พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 1
เจ้าชายอัลฟอนโซ เอิร์ลแห่งเชสเตอร์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 16 ตุลาคม ค.ศ. 1274 พระเชษฐาสิ้นพระชนม์ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1284 สิ้นพระชนม์
เอ็ดเวิร์ดแห่งแคร์นาร์ฟอน เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 19 สิงหาคม ค.ศ. 1284 พระเชษฐาสิ้นพระชนม์ 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307 เป็นพระมหากษัตริย์
- โทมัสแห่งบราเทอร์ตัน เอิร์ลที่ 1 แห่งนอร์โฟล์ก ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 7 กรกฎาคม ค.ศ. 1307 พระเชษฐาเป็นพระมหากษัตริย์ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1312 พระมหากษัตริย์มีพระโอรส พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 2
เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเชสเตอร์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 1312 ประสูติ 25 มกราคม ค.ศ. 1327 เป็นพระมหากษัตริย์
จอห์นแห่งอีแทม เอิร์ลแห่งคอร์นวอลล์ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 25 มกราคม ค.ศ. 1327 พระเชษฐาเป็นพระมหากษัตริย์ 15 มิถุนายน ค.ศ. 1330 พระมหากษัตริย์มีพระโอรส พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3
เอ็ดเวิร์ด "เจ้าชายดำ" เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรสองค์โต 15 มิถุนายน ค.ศ. 1330 ประสูติ 8 มิถุนายน ค.ศ. 1376 สิ้นพระชนม์
ริชาร์ด เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระนัดดา 8 มิถุนายน ค.ศ. 1376 พระบิดาสิ้นพระชนม์ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1377 เป็นพระมหากษัตริย์[1]
จอห์นแห่งกอนต์ ดยุกที่ 1 แห่งแลงแคสเตอร์ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระปิตุลา 22 มิถุนายน ค.ศ. 1377 พระนัดดาเป็นพระมหากษัตริย์ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1386 โรเจอร์ มอร์ติเมอร์ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัชทายาท[1] พระเจ้าริชาร์ดที่ 2
- โรเจอร์ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลที่ 4 แห่งมาร์ช ทายาทโดยสันนิษฐาน พระญาติ 24 ตุลาคม ค.ศ. 1386 การประกาศพระราชกฤษฎีกา 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1398 ถึงแก่กรรม
- เอ็ดมันด์ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลที่ 5 แห่งมาร์ช ทายาทโดยสันนิษฐาน พระญาติ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1398 บิดาถึงแก่กรรม 20 กันยายน ค.ศ. 1399 พระมหากษัตริย์ถูกล้มราชบัลลังก์

ค.ศ. 1399 ถึง 1485

[แก้]
รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ ค.ศ. 1399 - 1485
พระรูป รัชทายาท สถานะ ความสัมพันธ์กับพระมหากษัตริย์ เริ่มเป็นรัชทายาท สิ้นสุดการเป็นรัชทายาท ลำดับถัดไป พระมหากษัตริย์
วันที่ เหตุผล วันที่ เหตุผล
เฮนรี เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 30 กันยายน ค.ศ. 1399 พระบิดาเป็นพระมหากษัตริย์ 20 มีนาคม ค.ศ. 1413 เป็นพระมหากษัตริย์ โทมัสแห่งแลงคาสเตอร์ ดยุกที่ 1 แห่งแคลเร็นซ์
พระอนุชา (ค.ศ. 1399 - 1413)
พระเจ้าเฮนรีที่ 4
- โทมัสแห่งแลงแคสเตอร์ ดยุกที่ 1 แห่งแคลเร็นซ์ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 20 มีนาคม ค.ศ. 1413 พระเชษฐาเป็นพระมหากษัตริย์ 22 มีนาคม ค.ศ. 1421 สิ้นพระชนม์ จอห์นแห่งแลงแคสเตอร์ ดยุกที่ 1 แห่งเบดฟอร์ด
พระอนุชา (ค.ศ. 1413 - 1421)
พระเจ้าเฮนรีที่ 5
จอห์นแห่งแลงแคสเตอร์ ดยุกที่ 1 แห่งเบดฟอร์ด ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 22 มีนาคม ค.ศ. 1421 พระเชษฐาสิ้นพระชนม์ 6 ธันวาคม ค.ศ. 1421 พระมหากษัตริย์มีพระโอรส ฮัมฟรีย์แห่งแลงแคสเตอร์ ดยุกที่ 1 แห่งกลอสเตอร์
พระอนุชา (ค.ศ. 1421)
เฮนรี ดยุกแห่งคอร์นวอล ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 6 ธันวาคม ค.ศ. 1421 ประสูติ 31 สิงหาคม ค.ศ. 1422 เป็นพระมหากษัตริย์ จอห์นแห่งแลงแคสเตอร์ ดยุกที่ 1 แห่งเบดฟอร์ด
พระปิตุลา (ค.ศ. 1421 - 1422)
จอห์นแห่งแลงแคสเตอร์ ดยุกที่ 1 แห่งเบดฟอร์ด ทายาทโดยสันนิษฐาน พระปิตุลา 31 สิงหาคม ค.ศ. 1422 พระนัดดาเป็นพระมหากษัตริย์ 14 กันยายน ค.ศ. 1435 สิ้นพระชนม์ ฮัมฟรีย์แห่งแลงแคสเตอร์ ดยุกที่ 1 แห่งกลอสเตอร์
พระอนุชา (ค.ศ. 1422 - 1435)
พระเจ้าเฮนรีที่ 6
ฮัมฟรีย์แห่งแลงแคสเตอร์ ดยุกที่ 1 แห่งกลอสเตอร์ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระปิตุลา 14 กันยายน ค.ศ. 1435 พระเชษฐาสิ้นพระชนม์ 23 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1447 สิ้นพระชนม์ ไม่แน่ชัด[2]
ไม่แน่ชัด[2]
เอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 13 ตุลาคม ค.ศ. 1453 ประสูติ 4 มกราคม ค.ศ. 1461 (25 ตุลาคม ค.ศ. 1460)[3] พระมหากษัตริย์ทรงถูกโค่นราชบัลลังก์ ไม่แน่ชัด[2]
ริชาร์ด แพลนแทเจเนต ดยุกที่ 3 แห่งยอร์ก ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระญาติ 25 ตุลาคม ค.ศ. 1460 พระราชบัญญัติสิทธิในการสืบราชบัลลังก์[3] 30 ธันวาคม ค.ศ. 1460 สิ้นพระชนม์ เอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งมาร์ช
พระโอรส (ค.ศ. 1460)
เอ็ดเวิร์ด ดยุกแห่งยอร์ก ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระญาติ 30 ธันวาคม ค.ศ. 1460 พระบิดาสิ้นพระชนม์ 4 มีนาคม ค.ศ. 1461 เป็นพระมหากษัตริย์ เจ้าชายจอร์จ
พระอนุชา (ค.ศ. 1460 - 1461)
จอร์จ ดยุกที่ 1 แห่งแคลเรนซ์ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 4 มีนาคม ค.ศ. 1461 พระเชษฐาเป็นพระมหากษัตริย์ 12 มีนาคม ค.ศ. 1470 ทรงหลบหนีไปหลังเกิดการกบฎโดยดยุกแห่งแคลเรนซ์ ริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์
พระอนุชา (ค.ศ. 1461 - 1466)
พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4
ไม่แน่ชัด[4]
เอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินสเตอร์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 31 ตุลาคม ค.ศ. 1470 พระบิดาทรงกลับคืนสู่ราชบัลลังก์ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1471 สิ้นพระชนม์ จอร์จ ดยุกที่ 1 แห่งแคลเรนซ์[5]
พระเจ้าเฮนรีที่ 6
เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 11 เมษายน ค.ศ. 1471 พระบิดาทรงกลับคืนสู่ราชบัลลังก์ 9 เมษายน ค.ศ. 1483 เป็นพระมหากษัตริย์ จอร์จ ดยุกที่ 1 แห่งแคลเรนซ์
พระปิตุลา (ค.ศ. 1471 - 1473)
พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4
ริชาร์ดแห่งชรูว์สบรี ดยุกที่ 1 แห่งยอร์ก
พระอนุชา (ค.ศ. 1473-1483)
ริชาร์ดแห่งชรูว์สบรี ดยุกที่ 1 แห่งยอร์ก ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 9 เมษายน ค.ศ. 1483 พระเชษฐาเป็นพระมหากษัตริย์ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1483 ทรงถูกประกาศว่าเป็นบุตรนอกกฎหมาย ริชาร์ด ดยุกแห่งกลอสเตอร์
พระปิตุลา (ค.ศ. 1483)
พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5
เอ็ดเวิร์ดแห่งมิดเดิลแฮม เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 22 มิถุนายน ค.ศ. 1483 พระบิดาเป็นพระมหากษัตริย์ 9 เมษายน ค.ศ. 1484 สิ้นพระชนม์ เอ็ดเวิร์ด แพลนทาเจเน็ท เอิร์ลที่ 17 แห่งวอริค
พระญาติ
พระเจ้าริชาร์ดที่ 3
- เอ็ดเวิร์ด แพลนทาเจเน็ท เอิร์ลที่ 17 แห่งวอริค ทายาทโดยสันนิษฐาน พระนัดดา 6 เมษายน ค.ศ. 1484 ตามพระบรมราชโองการ มีนาคม ค.ศ. 1485 ทรงถูกตัดออกจากสิทธิในการสืบราชสันตติวงศ์ มาร์กาเร็ต โพ เคานท์เตสแห่งซอลส์บรี
พระเชษฐภคินี
- จอห์น เดอ ลา โพ เอิร์ลที่ 1 แห่งลินคอร์น ทายาทโดยสันนิษฐาน พระนัดดา มีนาคม ค.ศ. 1485 ตามพระบรมราชโองการ 22 สิงหาคม ค.ศ. 1485 พระมหากษัตริย์ถูกปลงพระชนม์ในสมรภูมิ เอ็ดมันด์ เดอ ลา โพ
พระอนุชา

ค.ศ. 1485 ถึง 1603

[แก้]
รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ ค.ศ. 1485 - 1603
พระรูป รัชทายาท สถานะ ความสัมพันธ์กับพระมหากษัตริย์ เริ่มเป็นรัชทายาท สิ้นสุดการเป็นรัชทายาท ลำดับถัดไป พระมหากษัตริย์
วันที่ เหตุผล วันที่ เหตุผล
ไม่มีรัชทายาทที่ได้รับการยอมรับ ค.ศ. 1485-1486 พระเจ้าเฮนรีที่ 7
อาร์เทอร์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 20 กันยายน ค.ศ. 1486 ประสูติ 2 เมษายน ค.ศ. 1502 สิ้นพระชนม์ ไม่มี
(ค.ศ. 1486 - 1489)
มาร์กาเร็ต ทิวดอร์
พระขนิษฐา (ค.ศ. 1489 - 1491)
เฮนรี ดยุกแห่งยอร์ก
พระอนุชา (ค.ศ. 1491 - 1502)
เฮนรี เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 2 เมษายน ค.ศ. 1502 พระเชษฐาสิ้นพระชนม์ 22 เมษายน ค.ศ. 1509 เป็นพระมหากษัตริย์ มาร์กาเร็ต ทิวดอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งสก็อตแลนด์
พระเชษฐภคินี (ค.ศ. 1502 - 1509)
ไม่มีรัชทายาทที่ได้รับการยอมรับ ค.ศ. 1509-1511[6] พระเจ้าเฮนรีที่ 8
- เฮนรี ดยุกแห่งคอร์นวอลล์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 1 มกราคม ค.ศ. 1511 ประสูติ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1511 สิ้นพระชนม์ มาร์กาเร็ต ทิวดอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งสก็อตแลนด์
พระปิตุจฉา (ค.ศ. 1511)
ไม่มีรัชทายาทที่ได้รับการยอมรับ ค.ศ. 1511-1514[6]
- เฮนรี ดยุกแห่งคอร์นวอลล์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส ธันวาคม ค.ศ. 1514 ประสูติ ธันวาคม ค.ศ. 1514/มกราคม ค.ศ. 1515 สิ้นพระชนม์ มาร์กาเร็ต ทิวดอร์ สมเด็จพระพันปีหลวงแห่งสก็อตแลนด์
พระปิตุจฉา (ค.ศ. 1514/15)
ไม่มีรัชทายาทที่ได้รับการยอมรับ ค.ศ. 1515-1516[6]
แมรี ทิวดอร์ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระธิดา 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1516 ประสูติ มีนาคม ค.ศ. 1534 ทรงถูกถอดพระอิสริยยศโดยรัฐสภา มาร์กาเร็ต ทิวดอร์ สมเด็จพระพันปีหลวงแห่งสก็อตแลนด์
พระปิตุจฉา (ค.ศ. 1516 - 1533)
เอลิซาเบธ ทิวดอร์
พระขนิษฐา (ค.ศ. 1533 - 1534)
เอลิซาเบธ ทิวดอร์ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระธิดา มีนาคม ค.ศ. 1534 ตามพระราชบัญญัติของรัฐสภา ค.ศ. 1536 ทรงถูกถอดพระอิสริยยศโดยรัฐสภา มาร์กาเร็ต ทิวดอร์ สมเด็จพระพันปีหลวงแห่งสก็อตแลนด์
พระปิตุจฉา (ค.ศ. 1534 - 1536)
ไม่มีรัชทายาทที่ได้รับการยอมรับ ค.ศ. 1536-1537[6]
เอ็ดเวิร์ด เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 12 ตุลาคม ค.ศ. 1537 ประสูติ 28 มกราคม ค.ศ. 1547 เป็นพระมหากษัตริย์ แมรี ทิวดอร์
พระเชษฐภคินี (ค.ศ. 1543 - 1547)
แมรี ทิวดอร์ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระเชษฐภคินีองค์โต 28 มกราคม ค.ศ. 1547 พระอนุชาเป็นพระมหากษัตริย์ 21 มิถุนายน ค.ศ. 1553 ทรงถูกยกเว้นในเอกสารสิทธิในราชบัลลังก์ เอลิซาเบธ ทิวดอร์
พระเชษฐภคินีองค์รอง (ค.ศ. 1547 - 1553)
พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6
เลดีเจน เกรย์ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระญาติ 21 มิถุนายน ค.ศ. 1553 ได้รับการแต่งตั้งในเอกสารสิทธิในราชบัลลังก์ 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1553 ได้รับการประกาศเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ แคทเทอรีน เลดีเฮอร์เบิร์ตแห่งคาร์ดิฟฟ์
พระขนิษฐา (ค.ศ. 1553)
หลังการสวรรคตของพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 6 การสืบราชสันตติวงศ์ได้เป็นที่ขัดแย้งกันระหว่างพระเชษฐภคินีของพระองค์ คือ เลดีแมรี ทิวดอร์ ซึ่งเป็นองค์รัชทายาทหัวปีตามพระราชพินัยกรรมของพระเจ้าเฮนรีที่ 8 แห่งอังกฤษ และสายราชสันตติวงศ์ของเลดีเจน เกรย์ ผู้ซึ่งพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดทรงแต่งตั้งให้เป็นองค์รัชทายาท ตั้งแต่รัชกาลของพระนางเจน เกรย์ที่ทรงครองราชย์ในระยะเวลาสั้นๆจึงเป็นเหตุให้เกิดความขัดแย้ง โดยเหล่าทายาทของพระนาง
แคทเทอรีน เลดีเฮอร์เบิร์ตแห่งคาร์ดิฟฟ์ ทายาทโดยสันนิษฐาน (ยังเป็นที่ถกเถียง) พระขนิษฐา 6 กรกฎาคม ค.ศ. 1553 พระเชษฐภคินีได้รับการประกาศเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1553 พระเชษฐภคินีทรงถูกโค่นราชบัลลังก์ แมรี เกรย์
พระขนิษฐา (ค.ศ. 1553)
สมเด็จพระราชินีนาถเจน
เอลิซาเบธ ทิวดอร์ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระขนิษฐา 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1553 พระเชษฐภคินีเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1558 ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ ไม่มี สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1
นับตั้งแต่รัชสมัยของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1 (ค.ศ. 1558 - 1603) พระองค์ไม่ทรงเคยกำหนดองค์รัชทายาท การสืบราชสันตติวงศ์จึงมีความขัดแย้งกันท่ามกลางเหล่าทายาทของพระเจ้าเฮนรีที่ 7 โดยความเกี่ยวดองของบุตรหัวปี และเหล่าทายาทที่ได้ถูกกำหนดขึ้นตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ฉบับที่สามและตามพระราชพินัยกรรมของพระเจ้าเฮนรีที่ 8 สองเอกสารหลังนี้ได้กำหนดให้สายราชสันตติวงศ์อังกฤษของแมรี ทิวดอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งฝรั่งเศส พระขนิษฐาในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 มีลำดับก่อนหน้าสายราชสันตติวงศ์สก็อตแลนด์ของมาร์กาเร็ต ทิวดอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งสก็อตแลนด์ พระเชษฐภคินีในพระเจ้าเฮนรีที่ 8 และลำดับต่อไปนี้คือผู้ที่อยู่ลำดับแรกของทั้งสองสาย:
สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 1 แห่งสกอตแลนด์ ทายาทที่เป็นไปได้โดยความเกี่ยวดองของบุตรหัวปี พระญาติ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1558 พระญาติเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1587 ทรงถูกประหารชีวิต พระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์
พระโอรส (ค.ศ. 1566 - 1587)
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 1
พระเจ้าเจมส์ที่ 6 แห่งสกอตแลนด์ พระญาติ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1587 พระมารดาถูกประหารชีวิต 24 มีนาคม ค.ศ. 1603 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ เฮนรี เฟรเดอริก ดยุกแห่งโรเทอซี
พระโอรส (ค.ศ. 1594 - 1603)
ฟรานเซส เกรย์ ดัชเชสแห่งซัฟโฟล์ก ทายาทที่เป็นไปได้ตามพระราชพินัยกรรมของพระเจ้าเฮนรีที่ 8 พระญาติ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 1558 พระญาติเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1559 ถึงแก่กรรม แคทเทอรีน เลดีเฮอร์เบิร์ตแห่งคาร์ดิฟฟ์
พระธิดา
แคทเทอรีน เลดีเฮอร์เบิร์ตแห่งคาร์ดิฟฟ์ พระญาติ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1559 พระมารดาถึงแก่กรรม 26 มกราคม ค.ศ. 1568 ถึงแก่กรรม เลดีแมรี เกรย์
พระขนิษฐา
เลดีแมรี เกรย์ พระญาติ 26 มกราคม ค.ศ. 1568 พระเชษฐภคินีถึงแก่กรรม 20 เมษายน ค.ศ. 1578 ถึงแก่กรรม มาร์กาเร็ต เคานท์เตสแห่งเดอร์บี
พระญาติ
- มาร์กาเร็ต เคานท์เตสแห่งเดอร์บี พระญาติ 20 เมษายน ค.ศ. 1578 พระญาติถึงแก่กรรม 28 กันยายน ค.ศ. 1596 ถึงแก่กรรม เฟอร์นันโด สแตนลีย์ เอิร์ลที่ 5 แห่งเดอร์บี
พระโอรส (ค.ศ. 1578 - 1594)
เลดี แอนน์ สแตนลีย์
พระนัดดา (ค.ศ. 1594 - 1596)
- เลดี แอนน์ สแตนลีย์ พระญาติ 28 กันยายน ค.ศ. 1596 พระอัยยิกาถึงแก่กรรม 24 มีนาคม ค.ศ. 1603 การสืบราชสันตติวงศ์โดยพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ เลดี ฟรานเชส สแตนลีย์
พระขนิษฐา

ค.ศ. 1603 ถึง 1689

[แก้]
รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ ค.ศ. 1603 - 1689
พระรูป รัชทายาท สถานะ ความสัมพันธ์กับพระมหากษัตริย์ เริ่มเป็นรัชทายาท สิ้นสุดการเป็นรัชทายาท ลำดับถัดไป พระมหากษัตริย์
วันที่ เหตุผล วันที่ เหตุผล
เฮนรี เฟรเดอริก เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 24 มีนาคม ค.ศ. 1603 พระบิดาเป็นพระมหากษัตริย์ 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1612 สิ้นพระชนม์ ชาร์ลส์ ดยุกแห่งยอร์ก
พระอนุชา (ค.ศ. 1603 - 1612)
พระเจ้าเจมส์ที่ 1
ชาร์ลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 6 พฤศจิกายน ค.ศ. 1612 พระเชษฐาสิ้นพระชนม์ 27 มีนาคม ค.ศ. 1625 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ เอลิซาเบธ สจวต สมเด็จพระราชินีแห่งโบฮีเมีย
พระเชษฐภคินี (ค.ศ. 1612 - 1625)
เอลิซาเบธ สจวต อีเล็คเตรสแห่งพาเลไทน์ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระเชษฐภคินี 27 มีนาคม ค.ศ. 1625 พระอนุชาเป็นพระมหากษัตริย์ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 พระมหากษัตริย์มีพระโอรส เฮนรี เฟรเดอริก เจ้าชายรัชทายาทแห่งพาเลไทน์
พระโอรส (ค.ศ. 1625 - 1629)
พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1
คาร์ลที่ 1 ลุดวิก ผู้คัดเลือกแห่งพาลาทิเนต
พระโอรส (ค.ศ. 1629 - 1630)
ชาร์ลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1630 ประสูติ 30 มกราคม ค.ศ. 1649[7] ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ เอลิซาเบธ สจวต อีเล็คเตรสแห่งพาเลไทน์
พระปิตุจฉา (ค.ศ. 1630 - 1631)
เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารี
พระขนิษฐา (ค.ศ. 1631 - 1633)
เจมส์ ดยุกแห่งยอร์ก
พระอนุชา (ค.ศ. 1633 - 1649)
เจมส์ ดยุกแห่งยอร์ก ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 30 มกราคม ค.ศ. 1649[7] พระเชษฐาเป็นพระมหากษัตริย์ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ เฮนรี สจวต ดยุกแห่งกลอสเตอร์
พระอนุชา (ค.ศ. 1649 - กันยายน ค.ศ. 1650)
พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2
เจ้าหญิงแมรี พระราชกุมารีและเจ้าหญิงแห่งออเรนจ์
พระเชษฐภคินี (กันยายน - ตุลาคม ค.ศ. 1650)
ชาร์ลส์ ดยุกแห่งเคมบริดจ์
พระโอรส (ค.ศ. 1660 - พฤษภาคม ค.ศ. 1661)
เจ้าชายวิลเลียมแห่งออเรนจ์
พระนัดดา (พฤษภาคม ค.ศ. 1661 - เมษายน ค.ศ. 1662)
เจ้าหญิงแมรี
พระธิดา (เมษายน ค.ศ. 1662 - กรกฎาคม ค.ศ. 1663)
เจมส์ สจวต ดยุกแห่งเคมบริดจ์
พระโอรส (พฤษภาคม ค.ศ. 1663 - มิถุนายน ค.ศ. 1667)
เจ้าหญิงแมรี
พระธิดา (มิถุนายน ค.ศ. 1662 - กันยายน ค.ศ. 1667)
เอ็ดการ์ สจวต ดยุกแห่งเคมบริดจ์
พระโอรส (กันยายน ค.ศ. 1667 - พฤศจิกายน ค.ศ. 1669)
เจ้าหญิงแมรี
พระธิดา (ค.ศ. 1669 - ค.ศ. 1677)
ชาร์ลส์ ดยุกแห่งเคมบริดจ์
พระโอรส (พฤศจิกายน - ธันวาคม ค.ศ. 1677)
แมรี เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์
พระธิดา (ค.ศ. 1677 - ค.ศ. 1685)
แมรี เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระธิดา 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1685 พระบิดาเป็นพระมหากษัตริย์ 10 มิถุนายน ค.ศ. 1688 พระอนุชาประสูติ เจ้าหญิงแอนน์แห่งเดนมาร์ก
พระขนิษฐา (ค.ศ. 1685 - 1688)
พระเจ้าเจมส์ที่ 2
เจมส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 10 มิถุนายน ค.ศ. 1688 ประสูติ 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1689 พระบิดาทรงถูกโค่นราชบัลลังก์ แมรี เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์
พระเชษฐภคินี (ค.ศ. 1688 - ค.ศ. 1689)

รัชทายาทสายจาโคไบต์ ค.ศ. 1688 - 1807

[แก้]

รายนามนี้คือสายราชสันตติวงศ์ของผู้อ้างสิทธิราชบัลลงก์สายจาโคไบต์ ที่ได้อ้างขึ้นหลังจากการสิ้นพระชนม์ของผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์สจวต สำหรับบุคคลอื่นที่อยู่ในวงศ์นี้ ดูที่สายราชสันตติวงศ์จาโคไบท์

รัชทายาทสายจาโคไบต์ ค.ศ. 1688 - 1807
พระรูป รัชทายาท สถานะ ความสัมพันธ์กับผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ เริ่มเป็นรัชทายาท สิ้นสุดการเป็นรัชทายาท ลำดับถัดไป ผู้อ้างสิทธิใ��ราชบัลลังก์
วันที่ เหตุผล วันที่ เหตุผล
เจมส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1689 พระบิดาทรงถูกโค่นราชบัลลังก์ 16 กันยายน ค.ศ. 1701 ทรงเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ แมรี เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์
พระเชษฐภคินี (ค.ศ. 1689 - ค.ศ. 1694)
พระเจ้าเจมส์ที่ 2
(อดีตพระเจ้าเจมส์ที่ 2)
เจ้าหญิงแอนน์แห่งเดนมาร์ก
พระเชษฐภคินี (ค.ศ. 1694 - 1701)
เจ้าหญิงแอนน์แห่งเดนมาร์ก ทายาทโดยสันนิษฐาน พระเชษฐภคินี 16 กันยายน ค.ศ. 1701 พระบิดาสิ้นพระชนม์ พระอนุชาทรงเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1714 สิ้นพระชนม์ เจ้าหญิงหลุยซา มาเรีย
พระขนิษฐา (ค.ศ. 1701 - ค.ศ. 1712)
พระเจ้าเจมส์ที่ 3
(The Old Pretender)
เจ้าหญิงอานน์ มารีแห่งออร์เลออง
พระญาติ (ค.ศ. 1712 - 1714)
อานน์ มารีแห่งออร์เลออง สมเด็จพระราชินีแห่งซาร์ดิเนีย ทายาทโดยสันนิษฐาน พระญาติ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1714 พระญาติสิ้นพระชนม์ 31 ธันวาคม ค.ศ. 1720 ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ทรงมีพระโอรส วิกเตอร์ อมาเดอุส เจ้าชายแห่งเพียดมอนต์
พระโอรส (ค.ศ. 1714 - ค.ศ. 1715)
ชาร์ลส์ เอ็มมานูเอล เจ้าชายแห่งเพียดมอนต์
พระโอรส (ค.ศ. 1715 - 1720)
ชาร์ลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์ ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระโอรส 31 ธันวาคม ค.ศ. 1720 ประสูติ 1 มกราคม ค.ศ. 1766 ทรงเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ อานน์ มารีแห่งออร์เลออง สมเด็จพระราชินีแห่งซาร์ดิเนีย
พระญาติ (ค.ศ. 1720 - ค.ศ. 1725)
เฮนรี ดยุกแห่งยอร์ก
พระอนุชา (ค.ศ. 1725 - 1766)
เฮนรี ดยุกแห่งยอร์ก ทายาทโดยสันนิษฐาน พระอนุชา 1 มกราคม ค.ศ. 1766 พระเชษฐาทรงเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ 31 มกราคม ค.ศ. 1788 ทรงเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ พระเจ้าชาร์ลส์ เอ็มมานูเอลที่ 3 แห่งซาร์ดิเนีย
พระญาติ (ค.ศ. 1766 - ค.ศ. 1773)
พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 3
(The Young Pretender)
พระเจ้าวิกเตอร์ อมาเดอุสที่ 3 แห่งซาร์ดิเนีย
พระญาติ (ค.ศ. 1773 - 1788)
พระเจ้าวิกเตอร์ อมาเดอุสที่ 3 แห่งซาร์ดิเนีย ทายาทโดยสันนิษฐาน พระญาติ 31 มกราคม ค.ศ. 1788 พระญาติทรงเป็นผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1796 สวรรคต ชาร์ลส์ เอ็มมานูเอล เจ้าชายแห่งเพียดมอนต์
พระโอรส (ค.ศ. 1788 - ค.ศ. 1796)
พระเจ้าเฮนรีที่ 9
(Cardinal York)
พระเจ้าชาร์ลส์ เอ็มมานูเอลที่ 4 แห่งซาร์ดิเนีย ทายาทโดยสันนิษฐาน พระญาติ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1796 พระบิดาสวรรคต 13 กรกฎาคม ค.ศ. 1807 ผู้อ้างสิทธิในราชบัลลังก์องค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์สจวตสิ้นพระชนม์ พระเจ้าวิกเตอร์ เอ็มมานูเอลที่ 1 แห่งซาร์ดิเนีย
พระอนุชา (ค.ศ. 1796 - ค.ศ. 1807)

ค.ศ. 1689 ถึง 1707

[แก้]
รัชทายาทแห่งราชบัลลังก์อังกฤษ ค.ศ. 1689 - 1707
พระรูป รัชทายาท สถานะ ความสัมพันธ์กับพระมหากษัตริย์ เริ่มเป็นรัชทายาท สิ้นสุดการเป็นรัชทายาท ลำดับถัดไป พระมหากษัตริย์
วันที่ เหตุผล วันที่ เหตุผล
พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 ทายาทร่วม พระสวามี 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1689 พระราชบัญญัติโดยรัฐสภา 28 ธันวาคม ค.ศ. 1694 ทรงเป็นพระมหากษัตริย์แต่เพียงผู้เดียว เจ้าหญิงแอนน์แห่งเดนมาร์ก
พระขนิษฐาในพระนางแมรีที่ 2 (ค.ศ. 1689 - 1702)
สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2
สมเด็จพระราชินีนาถแมรีที่ 2 พระมเหสี สิ้นพระชนม์ พระเจ้าวิลเลียมที่ 3
เจ้าหญิงแอนน์แห่งเดนมาร์ก ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง พระขนิษฐาในพระมเหสีและพระญาติ 28 ธันวาคม ค.ศ. 1694 พระเชษฐภคินีสิ้นพระชนม์ 8 มีนาคม ค.ศ. 1702 ทรงเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ เจ้าชายวิลเลียม ดยุกแห่งกลอสเตอร์
พระโอรส (ค.ศ. 1694 - 1700)
ไม่แน่ชัด
(ค.ศ. 1700 - 1701)
โซเฟีย เจ้าหญิงอีเล็คเตรส พันปีหลวงแห่งฮาโนเวอร์
พระญาติ (ค.ศ. 1701 - 1702)
โซเฟีย เจ้าหญิงอีเล็คเตรส พันปีหลวงแห่งฮาโนเวอร์ ทายาทโดยสันนิษฐาน พระญาติ 8 มีนาคม ค.ศ. 1702 พระเจ้าวิลเลียมที่ 3 สวรรคต 1 พฤษภาคม ค.ศ. 1707 ทรงเป็นทายาทโดยสันนิษฐานแห่งสหราชอาณาจักร จอร์จ หลุยส์ อีเล็คเตอร์แห่งฮันโนเฟอร์
พระโอรส (ค.ศ. 1702 - ค.ศ. 1707)
สมเด็จพระราชินีนาถแอนน์

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 ในปีค.ศ. 1376 พระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 3 ทรงกำหนดทายาทเพศชายในการสืบราชบัลลังก์ การกำหนดทายาทครั้งนี้ถูกตั้งโดยวันเดอร์ฟูลพาร์เลียเมนต์ ในปีค.ศ. 1386 ซึ่งพระเจ้าริชาร์ดที่ 2 ทรงแต่งตั้งให้โรเจอร์ มอร์ติเมอร์ เอิร์ลที่ 4 แห่งมาร์ช เป็นองค์รัชทายาท , Fears of Henry IV, หน้า 366-9
  2. 2.0 2.1 2.2 ไม่มีรัชทายาทที่ชัดเจนหลังการสิ้นพระชนม์ของพระปิตุลาในพระเจ้าเฮนรีที่ 6 ซึ่งเป็นเชื้อสายที่ถูกต้องตามกฎหมายในพระเจ้าเฮนรีที่ 4 ที่ยังทรงพระชนม์อยู่ ทายาทที่ถูกต้องตามกฎหมายที่มีความใกล้เคียงทางสายพระโลหิตมากที่สุดก็คือเชื้อสายในพระเชษฐภคินีของพระเจ้าเฮนรีที่ 4 ซึ่งก็คือ เจ้าหญิงฟิลิปปาแห่งแลงแคสเตอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งโปรตุเกส แต่สายราชสันตติวงศ์เหล่านี้คือ พระมหากษัตริ��์และเจ้าชายแห่งโปรตุเกส (ทายาทที่อาวุโสสูงที่สุดของสายนี้คือ พระเจ้าอัลฟอนโซที่ 5 แห่งโปรตุเกส) มันเป็นเรื่องที่ไม่น่ายินดีนักหากพระองค์ทรงได้รับราชบัลลังก์อังกฤษ สายราชสันตติวงศ์อาวุโสลำดับถัดไปคือสายสันตติวงศ์ของเอลิซาเบธแห่งแลงแคสเตอร์ ดัชเชสแห่งเอ็กเซเตอร์ ซึ่งรัชทายาทผู้มีอาวุโสสูงสุดคือ จอห์น ฮอลลันด์ ดยุกที่ 2 แห่งเอ็กเซเตอร์ (สิ้นพระชนม์ ค.ศ. 1447) และโอรสของเขาคือ เฮนรี สายราชสันตติวงศ์ที่เป็นไปได้สายอื่นคือ สายสันตติวงศ์ของจอห์น โบฟอร์ต เอิร์ลที่ 1 แห่งซัมเมอร์เซ็ท ซึ่งเป็นพระอนุชาต่างมารดาของพระเจ้าเฮนรีที่ 4 ซึ่งผู้มีอาวุโสสูงสุดในสายนี้คือ เลดี้ มาร์กาเรต โบฟอร์ต พระมารดาในพระเจ้าเฮนรีที่ 7 แห่งอังกฤษในอนาคต แต่ความชอบธรรมของสายโบฟอร์ตยังเป็นข้อถกเถียง ไม่มีทายาทที่เป็นไปได้ที่ได้รับความเห็นชอบทางกฎหมายในอังกฤษ
  3. 3.0 3.1 ตามพระราชบัญญัติสิทธิในการสืบราชบัลลังก์ของรัฐสภาได้ประกาศสถาปนาริชาร์ดแห่งยอร์กขึ้นเป็นองค์รัชทายาทในพระเจ้าเฮนรีที่ 6 พระราชบัญญัตินี้ได้ถูกปฏิเสธโดยกลุ่มแลงแคสเตอร์ซึ่งต้องการคงสถานะของเจ้าชายเอ็ดเวิร์ดแห่งเวสต์มินเตอร์ในฐานะองค์รัชทายาทของพระราชบิดาต่อไป
  4. หลังจากเกิดการกบฎของดยุกแห่งแคลเรนซ์ก็ไม่มีการประกาศทางเลือกในการตั้งรัชทายาทที่เป็นไปได้ พระอนุชาของพระองค์คือ ริชาร์ดแห่งกลอสเตอร์จึงเป็นลำดับถัดไป
  5. ดยุกแห่งแคลเรนซ์ทรงสนับสนุนการฟื้นฟูราชบัลลังก์ของพระเจ้าเฮนรีที่ 6 และทรงได้รับการแต่งตั้งให้อยู่ลำดับถัดไปของสายสืบราชสันตติวงศ์ ต่อจากพระโอรสในพระมหากษัตริย์และทายาทในอนาคตของพระองค์ เมื่อพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4 เสด็จกลับอังกฤษในเดือนเมษายน ค.ศ. 1471 ดยุกแห่งแคลเรนซ์ได้หันกลับไปสวามิภักดิ์พระเชษฐาของพระองค์เอง
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 สายราชสันตติวงศ์ถัดไปคือ มาร์กาเร็ต ทิวดอร์ สมเด็จพระราชินีแห่งสก็อตแลนด์ พระเชษฐภคินีในพระเจ้าเฮนรีที่ 8
  7. 7.0 7.1 พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ทรงได้รับการประกาศและเป็นที่ยอมรับในฐานะพระมหากษัตริย์โดยฝ่ายกษัตริย์นิยมในทันทีหลังจากพระราชบิดาเสด็จสวรรคต แต่พระองค์ทรงมีพระราชอำนาจอย่างแท้จริงจากการฟื้นฟูสถาบันพระมหากษัตริย์ในปีค.ศ. 1660 เท่านั้น
  • Ian Mortimer, The Fears of Henry IV: the Life of England's Self-Made King (Vintage, 2008)