ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อรองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รองประธานสภาผู้แทนราษฎร
แห่งราชอาณาจักรไทย
ตรารัฐสภา
ผู้ดำรงตำแหน่งคนปัจจุบัน
พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน
ภราดร ปริศนานันทกุล
ตั้งแต่ 13 กันยายน พ.ศ. 2567
การเรียกขานเรียนท่านประธานสภาที่เคารพ
สมาชิกของรัฐสภา
สภาผู้แทนราษฎร
รายงานต่อประธานสภาผู้แทนราษฎร
ที่ว่าการสัปปายะสภาสถาน
ผู้เสนอชื่อสภาผู้แทนราษฎร
ผู้แต่งตั้งพระมหากษัตริย์ไทย
วาระตามวาระของสภาผู้แทนราษฎร
ผู้ประเดิมตำแหน่งพระยาศรยุทธเสนี
พระยาเทพหัสดิน
สถาปนา15 ธันวาคม พ.ศ. 2476; 90 ปีก่อน (2476-12-15)
เงินตอบแทน42,500 บาท
(รวมกับเงินเดือนประจำตำแหน่งอีก 73,240 บาท [1])
เว็บไซต์www.parliament.go.th

รองประธานสภาผู้แทนราษฎรไทย เป็นตำแหน่งรองประมุขในฝ่ายนิติบัญญัติ รัฐธรรมนูญกำหนดให้มีประธานสภาคนหนึ่งและรองประธานคนหนึ่งหรือสองคน ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากสมาชิกแห่งสภาผู้แทนราษฎรตามมติของสภา[2]

รายนามผู้ดํารงตําแหน่ง

[แก้]
ชุดที่ รองประธาน คนที่ 1 รองประธาน คนที่ 2 หมายเหตุ
รูป ชื่อ วาระ รูป ชื่อ วาระ
1 พลเรือตรี พระยาศรยุทธเสนี 15 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2477 พลเอก พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) 15 ธันวาคม พ.ศ. 2476 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2477
นาวาเอก พระเรี่ยมวิรัชชพากย์ (เรี่ยม ทรรทรานนท์) 17 ธันวาคม พ.ศ. 2477 - 2 สิงหาคม พ.ศ. 2478 พลเอก พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) 17 ธันวาคม พ.ศ. 2477 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2479
พระยามานวราชเสวี (ปลอด วิเชียร ณ สงขลา) 2 สิงหาคม พ.ศ. 2478 - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2479
พลเอก พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) 3 สิงหาคม พ.ศ. 2479 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2480 พลเอก พระยาเทพหัสดิน (ผาด เทพหัสดิน ณ อยุธยา) 3 สิงหาคม พ.ศ. 2479 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2480
2 พระยาวิทุรธรรมพิเนตุ (โต๊ะ อัมระนันทน์) 10 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 11 กันยายน พ.ศ. 2481 พลเอก พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) 10 ธันวาคม พ.ศ. 2480 - 25 มิถุนายน พ.ศ. 2481
3 พลเอก พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) 12 ธันวาคม พ.ศ. 2481 - 29 มิถุนายน พ.ศ. 2487 ไม่มี
พันตรี ควง อภัยวงศ์ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2487 - 16 สิงหาคม พ.ศ. 2487 ไม่มี [3]
ฟื้น สุพรรณสาร 17 สิงหาคม พ.ศ. 2487 - 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2488 ไม่มี [4] [5]
4 ศาสตราจารย์ เดือน บุนนาค 25 มกราคม พ.ศ. 2489 - 27 มีนาคม พ.ศ. 2489 ไม่มี [6]
ร้อยตรี มงคล รัตนวิจิตร 28 มีนาคม พ.ศ. 2489 - 2 ตุลาคม พ.ศ. 2489 ไม่มี [7]
พันเอก พระยาสุรพันธเสนี (อิ้น บุนนาค) 3 ตุลาคม พ.ศ. 2489 - 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 ไม่มี
5 พันโท ประเสริฐ สุดบรรทัด 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491 - 25 มีนาคม พ.ศ. 2492 ไม่มี [8]
ยกเสียง เหมะภูติ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2492 - 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 ไม่มี
6 พระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์) 1 ธันวาคม พ.ศ. 2494 - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 พระยาอานุภาพไตรภพ (จำรัส เทพหัสดิน ณ อยุธยา) 1 ธันวาคม พ.ศ. 2494 - 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 [9]
7 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 - 29 มิถุนายน พ.ศ. 2498 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 - 25 มิถุนายน พ.ศ. 2497 [10]

[11]
[12]
[13]
[14]

ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร) 26 มิถุนายน พ.ศ. 2497 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2498
ขุนคงฤทธิศึกษากร (ปาน คงฤทธิ์ศึกษากร) 30 มิถุนายน พ.ศ. 2498 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ขุนวิวรณ์สุขวิทยา (ห่วง โลหะวณิชย์) 28 มิถุนายน พ.ศ. 2498 - 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500
8 น้อม อุปรมัย 16 มีนาคม - 16 กันยายน พ.ศ. 2500 ร้อยโท จงกล ไกรฤกษ์ 16 มีนาคม - 16 กันยายน พ.ศ. 2500 [15]
[16]

[17]

พลโท ปรุง รังสิยานนท์ 20 กันยายน - 14 ธันวาคม พ.ศ. 2500 ศาสตราจารย์ สัญญา ธรรมศักดิ์ 20 กันยายน - 14 ธันวาคม พ.ศ. 2500
9 ขุนวิวรณ์สุขวิทยา (ห่วง โลหะวณิชย์) 27 ธันวาคม พ.ศ. 2500 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 ประสิทธิ์ จุลละเกศ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2500 - 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 [18] [19]
10 สุปัน พูลพัฒน์ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 น้อม อุปรมัย 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512 - 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
11 ประมวล กุลมาตย์ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 - 12 มกราคม พ.ศ. 2519 ไม่มี [20]
12 มงคล สุคนธขจร 19 เมษายน - 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ไม่มี [21]
13 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 - พ.ศ. 2523 เทียม ไชยนันทน์ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2522 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2526 [22]
สอาด ปิยวรรณ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2523 - 19 มีนาคม พ.ศ. 2526 [23]
14 สมรรค ศิริจันทร์ 26 เมษายน พ.ศ. 2526 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 ปิยะณัฐ วัชราภรณ์ 26 เมษายน พ.ศ. 2526 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 [24]
15 ชุมพล ศิลปอาชา 4 สิงหาคม พ.ศ. 2529 - 29 เมษายน พ.ศ. 2531 ใหม่ ศิรินวกุล 4 สิงหาคม พ.ศ. 2529 - 29 เมษายน พ.ศ. 2531 [25]
16 ธนา เมตตาริกานนท์ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2531 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 ไสว พัฒโน 3 สิงหาคม พ.ศ. 2531 - 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 [26]
17 ชุมพล ศิลปอาชา 3 เมษายน พ.ศ. 2535 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535 เชาวน์วัศ สุดลาภา 3 เมษายน พ.ศ. 2535 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2535 [27]
18 วันมูหะมัดนอร์ มะทา 22 กันยายน พ.ศ. 2535 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 ถวิล ไพรสณฑ์ 22 กันยายน พ.ศ. 2535 - 12 ตุลาคม พ.ศ. 2537 [28]
เฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 จรัส พั้วช่วย 12 ตุลาคม พ.ศ. 2537 - 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 [29]
[30]
19 กริช กงเพชร 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 27 กันยายน พ.ศ. 2539 สุธรรม แสงประทุม 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 - 28 สิงหาคม พ.ศ. 2539 [31]
ธำรงค์ ไทยมงคล 28 สิงหาคม พ.ศ. 2539 - 27 กันยายน พ.ศ. 2539 [32]
20 โสภณ เพชรสว่าง 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 - 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 [33]
21 สมศักดิ์ ปริศนานันทกุล 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 - 5 มกราคม พ.ศ. 2548 บุญชง วีสมหมาย 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2545 [34]
สุชาติ ตันเจริญ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 - 5 มกราคม พ.ศ. 2548
22 สุชาติ ตันเจริญ 7 มีนาคม พ.ศ. 2548 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 รองศาสตราจารย์ ลลิตา ฤกษ์สำราญ 7 มีนาคม พ.ศ. 2548 - 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 [35] [36]
23 สมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ 22 มกราคม พ.ศ. 2551 - 13 สิงหาคม พ.ศ. 2551 พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย 22 มกราคม พ.ศ. 2551 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 [37]
สามารถ แก้วมีชัย 13 สิงหาคม พ.ศ. 2551 - 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 [38]
24 เจริญ จรรย์โกมล 2 สิงหาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556 วิสุทธิ์ ไชยณรุณ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2554 - 9 ธันวาคม พ.ศ. 2556 [39]
25 สุชาติ ตันเจริญ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2566 ศุภชัย โพธิ์สุ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 - 20 มีนาคม พ.ศ. 2566 [40]
26 ปดิพัทธ์ สันติภาดา 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2567 พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 - 10 กันยายน พ.ศ. 2567
พิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน 13 กันยายน พ.ศ. 2567 - ปัจจุบัน ภราดร ปริศนานันทกุล 13 กันยายน พ.ศ. 2567 - ปัจจุบัน

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "พระราชกฤษฎีกา เงินประจำตำแหน่งและประโยชน์ตอบแทนอย่างอื่นของประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา และกรรมาธิการ พ.ศ. ๒๕๕๕" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-12-29. สืบค้นเมื่อ 2021-12-29.
  2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 124
  3. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายปลอด วิเชียร ณ สงขลา เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร , พันตรี ควง อภัยวงศ์ เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประกาศ ณ วันที่ ๒ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๘๗)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1944-07-02. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  4. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายฟื้น สุพรรณสาร เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประกาศ ณ วันที่ ๒๓ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๔๘๗)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1944-08-27. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  5. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1945-07-15. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  6. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1946-02-05. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  7. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1946-04-09. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  8. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทน (นายเกษม บุญศรี เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร ร้อยเอก ประเสริฐ สุดบรรทัด เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1948-02-24. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  9. "ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1951-09-04. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  10. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1952-07-01. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  11. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1953-07-07. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  12. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานส��าผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1954-07-06. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  13. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (๑. พลเอก พระประจนปัจจนึก ๒. ขุนคงฤทธิศึกษากร ๓. ขุนวิวรณ์สุขวิทยา)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1955-07-12. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  14. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (พลเอก พระประจนปัจจนึก เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร , ขุนคงฤทธิศึกษากร เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๑ , ขุนวิวรณ์สุขวิทยา เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๒)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1956-07-10. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  15. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (พลเอกพระประจนปัจจนึกเป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร นายน้อม อุปรมัย เป็นรอง ฯ คนที่ ๑ ร้อยโท จงกล ไกรฤกษ์ เป็นรอง ฯ คนที่ ๒)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1957-03-19. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  16. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1957-07-02. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  17. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร(พลเอก สุทธิ์ สุทธิสารรณกร เป็นประธาน ฯ พลโท ปรุง รังสิยานนท์ เป็นรอง ฯ คนที่ ๑ นายสัญญา ธรรมศักดิ์ เป็นรอง ฯ คนที่ ๒)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1957-09-21. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  18. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (พลเอก พระประจนปัจจนึก เป็นประธาน ฯ ขุนวิวรณ์สุขวิทยา เป็นรองประธานสภา ฯ คนที่ ๑ นายประสิทธิ์ จุลละเกศ เป็นรองประธาน ฯ คนที่ ๒)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1957-12-28. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  19. "พระบรมราชโองการ ประกาศ ตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1958-07-01. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  20. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร,นายประมวล กุลมาตย์ เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประกาศ ณ วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ พุทธศักราช ๒๕๑๘)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1975-02-10. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  21. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายอุทัย พิมพ์ใจชน เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร นายมงคล สุคนธขจร เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประกาศ ณ วันที่ ๑๙ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๑๙ เป็นปีที่ ๓๑)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1976-04-21. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  22. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ นายมงคล สุคนธขจร นายเทียม ไชยนันทน์)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1979-05-12. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  23. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1980-06-07. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  24. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (๑. นายอุทัย พิมพ์ใจชน ๒. นายสมรรค ศิริจันทร์ ๓. นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1983-04-28. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  25. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายชวน หลีกภัย นายชุมพล ศิลปอาชา นายใหม่ ศิรินวกุล)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1986-08-05. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  26. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายปัญจะ เกสรทอง ประธานสภาผู้แทนราษฎร นายธนา เมตตาริกานนท์ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๑ นายไสว พัฒโน รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๒)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1988-08-03. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  27. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายอาทิตย์ อุไรรัตน์ เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร นายชุมพล ศิลปอาชา เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง นายเชาวน์วัศ สุดลาภา เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่สอง)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1992-04-03. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  28. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายมารุต บุนนาค เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎร นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่หนึ่ง นายถวิล ไพรสณฑ์ เป็นรองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่สอง)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1992-09-22. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  29. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายเฉลิมพล สนิทวงศ์ชัย รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๑)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1994-11-16. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  30. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายจรัส พั้วช่วย รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๒)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1994-10-17. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  31. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายบุญเอื้อ ประเสริฐสุวรรณ ประธานสภาผู้แทนราษฎร นายกริช กงเพชร รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๑ นายสุธรรม แสงประทุม รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๒)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1995-07-12. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  32. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (ธำรงค์ ไทยมงคล)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1996-09-10. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  33. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายวันมูหะหมัดนอร์ มะทา นายโสภณ เพชรสว่าง นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 1996-11-25. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  34. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายอุทัย พิมพ์ใจชน นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล และนายบุญชง วีสมหมาย)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 2001-02-06. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  35. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎร นายสุชาติ ตันเจริญ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๑ นางลลิตา ฤกษ์สำราญ รองประธานสภาผู้แทนราษฎร คนที่ ๒)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 2005-03-08. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-11-20. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  36. "พระบรมราชโองการประกาศ แต่งตั้งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายสุชาติ ตันเจริญ)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 2002-03-01. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-12-01. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  37. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายยงยุทธ ติยะไพรัช นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 2008-01-31. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  38. "พระบรมราชโองการ ประกาศแต่งตั้งรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายสามารถ แก้วมีชัย)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 2008-12-26. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  39. "พระบรมราชโองการ ประกาศ แต่งตั้งประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร (นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ นายเจริญ จรรย์โกมล นายวิสุทธิ์ ไชยณรุณ)" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 2011-08-02. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.
  40. "ประกาศแต่งตั้งประธาน���ละรองประธานสภาผู้แทนราษฎร" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 2019-05-31. สืบค้นเมื่อ 2024-04-11.