ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อทะเลสาบเรียงตามขนาดพื้นที่

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รายชื่อทะเลสาบเรียงตามขนาดพื้นที่

รายชื่อทะเลสาบ

[แก้]
แอฟริกา เอเชีย ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ แอนตาร์กติกา
อันดับ ทะเลสาบ ประเทศที่ติด พื้นที่ ความยาว ความลึกที่สุด ปริมาณน้ำ แผนที่ หมายเหตุ
1 แคสเปียน* ธงของประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน
ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
ธงของประเทศเติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน
ธงของประเทศอาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน
ธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน
436,000 km2 (168,000 sq mi) 1,199 km (745 mi) 1,025 m (3,363 ft) 78,200 กม³
2 สุพีเรีย[n 1] ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
 สหรัฐอเมริกา
82,100 km2 (31,700 sq mi)[1] 616 km (383 mi)[1] 406.3 m (1,333 ft)[1] 12,100 กม³[1]
3 วิกตอเรีย ธงของประเทศยูกันดา ยูกันดา
ธงของประเทศเคนยา เคนยา
ธงของประเทศแทนซาเนีย แทนซาเนีย
68,870 km2 (26,590 sq mi) 322 km (200 mi) 84 m (276 ft) 2,750 กม³
4 ฮูรอน[n 1] ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
 สหรัฐอเมริกา
59,600 km2 (23,000 sq mi)[1] 332 km (206 mi)[1] 229 m (751 ft)[1] 3,540 กม³[1]
5 มิชิแกน[n 1]  สหรัฐอเมริกา 58,000 km2 (22,000 sq mi)[1] 494 km (307 mi)[1] 281 m (922 ft)[1] 4,900 กม³[1]
6 แทนกันยีกา ธงของประเทศบุรุนดี บุรุนดี
ธงของประเทศแทนซาเนีย แทนซาเนีย
ธงของประเทศแซมเบีย แซมเบีย
ธงของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
32,600 km2 (12,600 sq mi) 676 km (420 mi) 1,470 m (4,820 ft) 18,900 กม³
7 ไบคาล ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 31,500 km2 (12,200 sq mi) 636 km (395 mi) 1,637 m (5,371 ft) 23,600 กม³
8 เกรตแบร์ ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา 31,000 km2 (12,000 sq mi) 373 km (232 mi) 446 m (1,463 ft) 2,236 กม³
9 มาลาวี ธงของประเทศมาลาวี มาลาวี
ธงของประเทศโมซัมบิก โมซัมบิก
ธงของประเทศแทนซาเนีย แทนซาเนีย
29,500 km2 (11,400 sq mi) 579 km (360 mi) 706 m (2,316 ft) 8,400 กม³
10 เกรตสเลฟ ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา 27,000 km2 (10,000 sq mi) 480 km (300 mi) 614 m (2,014 ft) 1,560 กม³
11 อิรี ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
 สหรัฐอเมริกา
25,700 km2 (9,900 sq mi)[1] 388 km (241 mi)[1] 64 m (210 ft)[1] 489 กม³[1]
12 วินนิเพก ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา 24,514 km2 (9,465 sq mi) 425 km (264 mi) 36 m (118 ft) 283 กม³
13 ออนแทรีโอ ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
 สหรัฐอเมริกา
18,960 km2 (7,320 sq mi)[1] 311 km (193 mi)[1] 244 m (801 ft)[1] 1,639 กม³[1]
14 ลาโดกา ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 18,130 km2 (7,000 sq mi) 219 km (136 mi) 230 m (750 ft) 908 กม³
15 บัลคัช* ธงของประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน 16,400 km2 (6,300 sq mi) 605 km (376 mi) 26 m (85 ft) 106 กม³
16 วะสโตค แอนตาร์กติกา 12,500 km2 (4,800 sq mi) 250 km (160 mi) 900–1,000 m (3,000–3,300 ft) 5,400 +/- 1,600 กม³
17 โอเนกา ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 9,720 km2 (3,750 sq mi) 248 km (154 mi) 120 m (390 ft) 280 กม³
18 ตีตีกากา ธงของประเทศเปรู เปรู
ธงของประเทศโบลิเวีย โบลิเวีย
8,372 km2 (3,232 sq mi) 177 km (110 mi) 281 m (922 ft) 893 กม³
19 นิการากัว ธงของประเทศนิการากัว นิการากัว 8,264 km2 (3,191 sq mi) 177 km (110 mi) 26 m (85 ft) 108 กม³
20 แอทะแบสกา ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา 7,850 km2 (3,030 sq mi) 335 km (208 mi) 243 m (797 ft) 204 กม³
21 ไตมีร์ ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย 6,990 km2 (2,700 sq mi) 250 km (160 mi) 26 m (85 ft) 12.8 กม³
22 เทอร์แคนา* ธงของประเทศเอธิโอเปีย เอธิโอเปีย
ธงของประเทศเคนยา เคนยา
6,405 km2 (2,473 sq mi) 248 km (154 mi) 109 m (358 ft) 204 กม³
23 เรนเดียร์ ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา 6,330 km2 (2,440 sq mi) 245 km (152 mi) 337 m (1,106 ft)
24 อือซึก-เกิล* ธงของประเทศคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน 6,200 km2 (2,400 sq mi) 182 km (113 mi) 668 m (2,192 ft) 1,738 กม³
25 อูร์เมีย* ธงของประเทศอิหร่าน อิหร่าน 6,001 km2 (2,317 sq mi) 130 km (81 mi) 16 m (52 ft)
26 แวแนร์น ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน 5,545 km2 (2,141 sq mi) 140 km (87 mi) 106 m (348 ft) 153 กม³
27 วินนิเพโกซิส ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา 5,403 km2 (2,086 sq mi) 245 km (152 mi) 18 m (59 ft)
28 อัลเบิร์ต ธงของประเทศยูกันดา ยูกันดา
ธงของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
5,299 km2 (2,046 sq mi) 161 km (100 mi) 58 m (190 ft) 280 กม³
29 มเวรู ธงของประเทศแซมเบีย แซมเบีย
ธงของสาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก
5,120 km2 (1,980 sq mi) 131 km (81 mi) 27 m (89 ft) 38 กม³
30 เนชิลิง ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา 5,066 km2 (1,956 sq mi) 113 km (70 mi) 132 m (433 ft)
31 ซารือกามึช ธงของประเทศอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน
ธงของประเทศเติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน
5,000 km2 (1,900 sq mi) 125 km (78 mi) 40 m (130 ft) 12 กม³
32 นิพิกอน ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา 4,843 km2 (1,870 sq mi) 116 km (72 mi) 165 m (541 ft)
33 แมนิโทบา ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา 4,706 km2 (1,817 sq mi) 225 km (140 mi) 7 m (23 ft)
34 เกรตซอลต์*  สหรัฐอเมริกา 4,662 km2 (1,800 sq mi) 121 km (75 mi) 10 m (33 ft)
35 ชิงไห่* ธงของประเทศจีน จีน 4,489 km2 (1,733 sq mi) (2007)
36 ไซมา ธงของประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ ≈ 4,400 km2 (1,700 sq mi) 82 m (269 ft) 36 กม³
37 เลกออฟเดอะวุดส์ ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
 สหรัฐอเมริกา
4,350 km2 (1,680 sq mi) 110 km (68 mi) 64 m (210 ft)
38 คานกะ ธงของประเทศจีน จีน
ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
4,190 km2 (1,620 sq mi) 90 km (56 mi) 10.6 m (35 ft)

*เป็นทะเลสาบน้ำเค็ม

[2]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

'เชิงอรรถ

  1. 1.0 1.1 1.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ longest

'อ้างอิง

  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 1.13 1.14 1.15 1.16 1.17 1.18 1.19 http://www.epa.gov/glnpo/atlas/gl- fact1.html Great Lakes Factsheet No. 1 US Environmental Protection Agency website retrieved September 9, 2012
  2. "Largest Lakes (Area)". LakeNet. สืบค้นเมื่อ 3 March 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

บรรณานุกรม

[แก้]

Assessment of the Former Soviet Union (1998) ISBN 0419239200

Times Guide to Essential Knowledge (2011) ISBN 0312643020