รัฐสมาชิกเครือจักรภพแห่งประชาชาติ
หน้าตา
ต่อไปนี้คือรัฐสมาชิกเครือจักรภพแห่งประชาชาติเรียงตามชื่อตามภาษาอังกฤษ
สมาชิกปัจจุบัน
[แก้]ข้อมูลจากสำนักเลขาธิการเครือจักรภพแห่งชาติ และประชากรเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2020[1]
ประเทศ | เข้าร่วมครั้งแรก | ภูมิภาคยูเอ็น | อนุภูมิภาคยูเอ็น | ประชากร[2] | ระบอบการปกครอง |
---|---|---|---|---|---|
แอนทีกาและบาร์บิวดา | 1 พฤศจิกายน 1981 | อเมริกา | แคริบเบียน | 94,195 | รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ |
ออสเตรเลีย | 19 พฤศจิกายน 1926 | โอเชียเนีย | ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ | 25,766,600 | สหพันธรัฐ ราชอาณาจักรเครือจักรภพ |
บาฮามาส | 10 กรกฎาคม 1973 | อเมริกา | แคริบเบียน | 402,576 | รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ |
บังกลาเทศ | 18 เมษายน 1972[3] | เอเชีย | เอเชียใต้ | 165,867,307 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์ |
บาร์เบโดส | 30 พฤศจิกายน 1966 | อเมริกา | แคริบเบียน | 286,618 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์ |
เบลีซ | 21 กันยายน 1981 | อเมริกา | อเมริกากลาง | 379,636 | รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ |
บอตสวานา | 30 กันยายน 1966 | แอฟริกา | แอฟริกาใต้ | 2,377,831 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐรัฐสภาที่ประธานาธิบดีมีอำนาจบริหาร |
บรูไน | 1 มกราคม 1984 | เอเชีย | เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | 439,022 | รัฐเดี่ยว อิสลาม สมบูรณาญาสิทธิราชย์ |
แคเมอรูน | 13 พฤศจิกายน 1995[4] | แอฟริกา | แอฟริกากลาง | 24,836,674 | รัฐเดี่ยว กึ่งประธานาธิบดี |
แคนาดา | 19 พฤศจิกายน 1926 | อเมริกา | อเมริกาเหนือ | 37,653,350 | สหพันธรัฐ ราชอาณาจักรเครือจักรภพ |
ไซปรัส | 13 มีนาคม 1961[5] | เอเชีย | เอเชียตะวันตก | 1,197,667 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี |
ดอมินีกา | 3 พฤศจิกายน 1978 | อเมริกา | แคริบเบียน | 72,975 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์ |
เอสวาตินี | 6 กันยายน 1968 | แอฟริกา | แอฟริกาใต้ | 1,336,933 | รัฐเดี่ยว สมบูรณาญาสิทธิราชย์ |
ฟีจี | 10 ตุลาคม 1970 | โอเชียเนีย | เมลานีเชีย | 909,024 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์ |
กาบอง | 25 มิถุนายน 2022 | แอฟริกา | แอฟริกากลาง | 2,233,272 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี |
แกมเบีย | 18 กุมภาพันธ์ 1965 | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันตก | 2,155,958 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี |
กานา | 6 มีนาคม 1957 | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันตก | 29,088,849 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี |
กรีเนดา | 7 กุมภาพันธ์ 1974 | อเมริกา | แคริบเบียน | 107,894 | รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ |
กายอานา | 26 พฤษภาคม 1966 | อเมริกา | อเมริกาใต้ | 773,808 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี |
อินเดีย | 15 สิงหาคม 1947 | เอเชีย | เอเชียใต้ | 1,353,014,094 | สหพันธรัฐ สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์ |
จาเมกา | 6 สิงหาคม 1962 | อเมริกา | แคริบเบียน | 2,819,888 | รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ |
เคนยา | 12 ธันวาคม 1963 | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันออก | 49,167,382 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี |
คิริบาส | 12 กรกฎาคม 1979 | โอเชียเนีย | ไมโครนีเชีย | 117,636 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐรัฐสภาที่ประธานาธิบดีมีอำนาจบริหาร |
เลโซโท | 4 ตุลาคม 1966 | แอฟริกา | แอฟริกาใต้ | 2,199,492 | รัฐเดี่ยว เวสต์มินสเตอร์ ราชาธิปไตย |
มาลาวี | 6 กรกฎาคม 1964 | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันออก | 18,558,768 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี |
มาเลเซีย | 31 สิงหาคม 1957[6][7] | เอเชีย | เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | 31,505,208 | สหพันธรัฐ เวสต์มินสเตอร์ ราชาธิปไตย |
มัลดีฟส์ | 9 กรกฎาคม 1982 | เอเชีย | เอเชียใต้ | 515,696 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี |
มอลตา | 21 กันยายน 1964 | ยุโรป | ยุโรปใต้ | 422,212 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์ |
มอริเชียส | 12 มีนาคม 1968 | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันออก | 1,286,240 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์ |
โมซัมบิก | 13 พฤศจิกายน 1995[8] | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันออก | 29,977,238 | รัฐเดี่ยว กึ่งสาธารณรัฐประธานาธิบดี |
นามิเบีย | 21 มีนาคม 1990 | แอฟริกา | แอฟริกาใต้ | 2,600,857 | รัฐเดี่ยว กึ่งสาธารณรัฐประธานาธิบดี |
นาอูรู | 1 พฤศจิกายน 1968 | โอเชียเนีย | ไมโครนีเชีย | 10,387 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐรัฐสภาที่ประธานาธิบดีมีอำนาจบริหาร |
นิวซีแลนด์ | 19 พฤศจิกายน 1926 | โอเชียเนีย | ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ | 4,609,755 | รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ |
ไนจีเรีย | 1 ตุลาคม 1960 | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันตก | 194,615,054 | สหพันธรัฐ สาธารณรัฐประธานาธิบดี |
ปากีสถาน | 14 สิงหาคม 1947 | เอเชีย | เอเชียใต้ | 229,494,441 | สหพันธรัฐ สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์ |
ปาปัวนิวกินี | 16 กันยายน 1975 | โอเชียเนีย | เมลานีเชีย | 8,034,630 | รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ |
รวันดา | 29 พฤศจิกายน 2009[9] | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันออก | 12,322,920 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี |
เซนต์คิตส์และเนวิส | 19 กันยายน 1983 | อเมริกา | แคริบเบียน | 56,632 | สหพันธรัฐ ราชอาณาจักรเครือจักรภพ |
เซนต์ลูเชีย | 22 กุมภาพันธ์ 1979 | อเมริกา | แคริบเบียน | 189,000 | รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ |
เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ | 27 ตุลาคม 1979 | อเมริกา | แคริบเบียน | 109,501 | รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ |
ซามัว | 28 สิงหาคม 1970 | โอเชียเนีย | พอลินีเชีย | 196,954 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์ |
เซเชลส์ | 29 มิถุนายน 1976 | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันออก | 98,248 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี |
เซียร์ราลีโอน | 27 เมษายน 1961 | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันตก | 6,818,117 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี |
สิงคโปร์ | 9 สิงหาคม 1966 | เอเชีย | เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | 5,889,117 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์ |
หมู่เกาะโซโลมอน | 7 กรกฎาคม 1978 | โอเชียเนีย | เมลานีเชีย | 614,497 | รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ |
แอฟริกาใต้ | 19 พฤศจิกายน 1926 | แอฟริกา | แอฟริกาใต้ | 56,007,479 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐรัฐสภาที่ประธานาธิบดีมีอำนาจบริหาร |
ศรีลังกา | 4 กุมภาพันธ์ 1948 | เอเชีย | เอเชียใต้ | 20,979,811 | รัฐเดี่ยว กึ่งสาธารณรัฐประธานาธิบดี |
แทนซาเนีย | 9 ธันวาคม 1961 | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันออก | 57,790,062 | ���ัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี |
โตโก | 25 มิถุนายน 2022 | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันตก | 8,608,444 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี |
ตองงา | 4 มิถุนายน 1970 | โอเชียเนีย | พอลินีเชีย | 107,228 | รัฐเดี่ยว ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ |
ตรินิแดดและโตเบโก | 31 สิงหาคม 1962 | อเมริกา | แคริบเบียน | 1,376,801 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์ |
ตูวาลู | 1 ตุลาคม 1978 | โอเชียเนีย | พอลินีเชีย | 10,116 | รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ |
ยูกันดา | 9 ตุลาคม 1962 | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันออก | 42,288,962 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี |
สหราชอาณาจักร | 19 พฤศจิกายน 1926 | ยุโรป | ยุโรปเหนือ | 65,746,853 | รัฐเดี่ยว ราชอาณาจักรเครือจักรภพ |
วานูวาตู | 30 กรกฎาคม 1980 | โอเชียเนีย | เมลานีเชีย | 279,953 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐเวสต์มินสเตอร์ |
แซมเบีย | 24 ตุลาคม 1964 | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันออก | 17,470,471 | รัฐเดี่ยว สาธารณรัฐประธานาธิบดี |
อดีตสมาชิก
[แก้]ประเทศ | เข้าร่วม | ภูมิภาคยูเอ็น | อนุภูมิภาคยูเอ็น | ถอนตัว |
---|---|---|---|---|
ไอร์แลนด์ | 19 พฤศจิกายน 1926 | ยุโรป | ยุโรปเหนือ | 18 เมษายน 1949 |
ซิมบับเว | 1 ตุลาคม 1980 | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันออก | 7 ธันวาคม 2003 |
สมาชิกล่มสลาย
[แก้]อดีตประเทศ | เข้าร่วม | ภูมิภาคยูเอ็น | อนุภูมิภาคยูเอ็น | ล่มสลาย | เข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ |
---|---|---|---|---|---|
มาลายา | 31 สิงหาคม 1957 | เอเชีย | เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | 16 กันยายน 1963[7] | มาเลเซีย |
นิวฟันด์แลนด์ | 19 พฤศจิกายน 1926 | อเมริกา | อเมริกาเหนือ | 31 มีนาคม 1949 | แคนาดา |
แทนกันยีกา | 9 ธันวาคม 1961 | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันออก | 26 เมษายน 1964 | แทนซาเนีย |
แซนซิบาร์ | 10 ธันวาคม 1963 |
คาดหวังเป็นสมาชิก
[แก้]ประเทศ | การสมัคร | ภูมิภาคยูเอ็น | อนุภูมิภาคยูเอ็น | ประชากร |
---|---|---|---|---|
โซมาลีแลนด์ | 2009 (เป็นผู้สังเกตการณ์)[10] | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันออก | ~3,500,000 |
ซูดานใต้ | 2011[11] | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันออก | 13,670,642 |
ซูรินาม[12] | 2012 | อเมริกา | อเมริกาใต้ | 555,934 |
บุรุนดี[13] | 2013 | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันออก | 10,524,117 |
ซิมบับเว | 2018[14] | แอฟริกา | แอฟริกาตะวันออก | 16,150,362 |
ผู้สมัครอื่น
[แก้]รัฐอื่น ๆ ที่แสดงความสนใจเข้าร่วมเครือจักรภพในช่วงหลายปีที่ผ่านมาหรือรัฐที่อาจมีสิทธิ์เข้าร่วมเครือจักรภพ ได้แก่ บาห์เรน,[15] กัมพูชา,[15] อียิปต์,[15] ลิเบีย,[15] เนปาล,[16][17] และเยเมน[18][19]
ดูเพิ่ม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Members". Commonwealth Secretariat. สืบค้นเมื่อ 15 February 2008.
- ↑ "World population - Countrymeters". สืบค้นเมื่อ 6 March 2018.
- ↑ Kohen, Marcelo G. (2006). Secession. London: Cambridge University Press. p. 122. ISBN 978-0-521-84928-9.
- ↑ Pondi, Jean-Emmanuel (October 1997). "Cameroon and the Commonwealth of Nations". The Round Table. 86 (344): 563–570. doi:10.1080/00358539708454389.
- ↑ McIntyre, W. David (January 2000). "Britain and the creation of the Commonwealth Secretariat". Journal of Imperial and Commonwealth History. 28 (1): 135–158. doi:10.1080/03086530008583082. S2CID 159673400.
- ↑ Federation of Malaya Independence Act 1957
- ↑ 7.0 7.1 Malaysia Act 1963
- ↑ Ingram, Derek (April 1996). "Commonwealth Update". The Round Table. 85 (338): 153–165. doi:10.1080/00358539608454302.
- ↑ Josh Kron (29 November 2009). "Rwanda Joins the Commonwealth". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 29 November 2009.
- ↑ Somaliland on verge of observer status in the Commonwealth. Qaran News, 16 November 2009
- ↑ "South Sudan Launches Bid to Join Commonwealth". gurtong.net. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-07-11. สืบค้นเมื่อ 2022-08-06.
- ↑ "Welcome to Allvoices". allvoices.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-06-25.
- ↑ "Burundi Applies to Join Commonwealth to Bolster Angolophone Ties". Bloomberg.com (ภาษาอังกฤษ). 13 November 2013.
- ↑ Adebayo, Bukola (21 May 2018). "Zimbabwe applies to re-join Commonwealth, 15 years after leaving". CNN.
- ↑ 15.0 15.1 15.2 15.3 te Velde-Ashworth, Victoria (10 October 2005). "The future of the modern Commonwealth: Widening vs. deepening?". Commonwealth Policy Studies Unit. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (doc)เมื่อ 23 July 2011. สืบค้นเมื่อ 16 September 2006.
- ↑ "The Commonwealth: What's the point of it?". The Economist. 19 March 2016. สืบค้นเมื่อ 6 June 2019.
- ↑ "Nepal urged to join Commonwealth". The Himalayan Times. 19 January 2016. สืบค้นเมื่อ 6 June 2019.
- ↑ Howden, Daniel (26 November 2009). "The Big Question: What is the Commonwealth's role, and is it relevant to global politics?". The Independent. London. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 May 2022.
- ↑ Osike, Felix (24 November 2007). "Rwanda membership delayed". New Vision. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 January 2013. สืบค้นเมื่อ 29 November 2009.