ข้ามไปเนื้อหา

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2016–17

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2016–17
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่28 มิถุนายน – 24 สิงหาคม พ.ศ. 2559 (รอบคัดเลือก)
13 กันยายน พ.ศ. 2559 – 3 มิถุนายน พ.ศ. 2560 (การแข่งขันรอบแบ่งกลุ่ม–รอบชิงชนะเลิศ)
ทีม32 (รอบแบ่งกลุ่ม)
78 (ทั้งหมด) (จาก 53 สมาคม)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศสเปน เรอัลมาดริด (สมัยที่ 12)
รองชนะเลิศอิตาลี ยูเวนตุส
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน125
จำนวนประตู380 (3.04 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม5,399,802 (43,198 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดโปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด (12 ประตู)
ปรับปรุงสถิติทั้งหมด ณ วันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2560

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2016–17 เป็นการแข่งขันฟุตบอลสโมสรยุโรปถ้วยใหญ่ที่สุด จัดขึ้นโดยยูฟ่า โดยฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลที่ 62 และเป็นฤดูกาลที่ 25 ตั้งแต่มีการเปลี่ยนชื่อจากยูโรเปียนแชมเปียนคลับส์คัพ เป็นยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

ในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2558 ได้มีการยืนยันสนามแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2017 โดยจะแข่งขันที่ มิลเลนเนียมสเตเดียม ในคาร์ดิฟฟ์ ประเทศเวลส์[1][2]

การคัดเลือกสโมสร

[แก้]

77, 78 หรือ 79 สโมสรจาก 53 ประเทศ ของสมาชิกยูฟ่าจำนวน 54 ประเทศ จะได้เข้าร่วมการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2016–17 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์ ซึ่งไม่ได้จัดการแข่งขันลีก) โดยจะจัดอันดับแต่ละประเทศสำหรับจำนวนของสโมสรที่จะได้เข้าร่วมการแข่งขัน ดังนี้:[3]

  • สมาคมอันดับที่ 1–3 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 4 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 4–6 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 3 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 7–15 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 2 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 16–54 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์) จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 1 สโมสร

สโมสรที่ชนะเลิศการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2015–16 และ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2015–16 (เซบิยา) จะได้เข้าร่วมการแข่งขันโดยอัตโนมัติ แม้ว่าจะไม่ได้การคัดเลือกจากการแข่งขันลีกในประเทศของสโมสรนั้น เนื่องจากสามารถมี 5 สโมสรจากประเทศเดียวกันเข้าร่วมลงแข่งขันในแชมเปียนส์ลีก หากทั้งสโมสรที่ชนะเลิศแชมเปียนส์ลีก และ ยูโรปาลีก มาจากสมาคม 3 อันดับแรก และ ไม่ได้จบฤดูกาลด้วยอันดับ 1 ใน 4 ของลีก อันดับที่ 4 ของลีกนั้นจะเข้าร่วมแข่งขันยูโรปาลีกแทน[4]

การจัดอันดับตามสมาคมฟุตบอล

[แก้]

สำหรับการแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2016–17 จะจัดอันดับอ้างอิงตามค่าสัมประสิทธิ์ของยูฟ่าในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ซึ่งคิดตามผลการแข่งขันฟุตบอลระดับทวีปตั้งแต่ฤดูกาล 2010–11 ถึง 2014–15[5][6]

นอกจากการคิดจากค่าสัมประสิทธิ์แล้ว สมาคมของประเทศนั้นจะได้รับสิทธิ์ให้มีสโมสรเข้าแข่งขันเพิ่มในแชมเปียนส์ลีก ดังนี้:

  • (CL) – สิทธิ์สำหรับสโมสรชนะเลิศแชมเปียนส์ลีก
  • (EL) – สิทธิ์สำหรับสโมสรชนะเลิศยูโรปาลีก
อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร หมายเหตุ
1 สเปน สเปน 99.999 4
2 อังกฤษ อังกฤษ 80.391
3 เยอรมนี เยอรมนี 79.415
4 อิตาลี อิตาลี 70.510 3
5 โปรตุเกส โปรตุเกส 61.382
6 ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 52.416
7 รัสเซีย รัสเซีย 50.498 2
8 ยูเครน ยูเครน 45.166
9 เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 40.979
10 เบลเยียม เบลเยียม 37.200
11 สวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 34.375
12 ตุรกี ตุรกี 32.600
13 กรีซ กรีซ 31.900
14 เช็กเกีย สาธารณรัฐเช็ก 29.125
15 โรมาเนีย โรมาเนีย 26.299
16 ออสเตรีย ออสเตรีย 25.675 1
17 โครเอเชีย โครเอเชีย 23.500
18 ไซปรัส ไซปรัส 22.300
อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร หมายเหตุ
19 โปแลนด์ โปแลนด์ 21.500 1
20 อิสราเอล อิสราเอล 21.000
21 เบลารุส เบลารุส 20.750
22 เดนมาร์ก เดนมาร์ก 19.800
23 สกอตแลนด์ สกอตแลนด์ 17.900
24 สวีเดน สวีเดน 17.725
25 บัลแกเรีย บัลแกเรีย 16.750
26 นอร์เวย์ นอร์เวย์ 14.375
27 เซอร์เบีย เซอร์เบีย 13.875
28 สโลวีเนีย สโลวีเนีย 13.625
29 อาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน 12.500
30 สโลวาเกีย สโลวาเกีย 11.250
31 ฮังการี ฮังการี 11.000
32 คาซัคสถาน คาซัคสถาน 10.375
33 มอลโดวา มอลโดวา 10.000
34 ประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย 9.375
35 ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 8.200
36 ไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ 8.000
อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร หมายเหตุ
37 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 7.500 1
38 ลีชเทินชไตน์ ลิกเตนสไตน์ 6.000 0
39 มาซิโดเนียเหนือ มาซิโดเนีย 5.875 1
40 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 5.750
41 มอนเตเนโกร มอนเตเนโกร 5.625
42 แอลเบเนีย อัลเบเนีย 5.375
43 ลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก 5.125
44 ไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือ 4.875
45 ลิทัวเนีย ลิทัวเนีย 4.500
46 ลัตเวีย ลัตเวีย 4.250
47 มอลตา มอลตา 4.208
48 เอสโตเนีย เอสโตเนีย 3.500
49 หมู่เกาะแฟโร หมู่เกาะแฟโร 3.500
50 เวลส์ เวลส์ 2.875
51 อาร์มีเนีย อาร์มีเนีย 2.750
52 อันดอร์รา อันดอร์รา 0.833
53 ซานมารีโน ซานมารีโน 0.499
54 ยิบรอลตาร์ ยิบรอลตาร์ 0.250

การจัดการแข่งขัน

[แก้]

ในการจัดการแข่งขัน โดยปกติแล้วสโมสรชนะเลิศแชมเปียนส์ลีกจะได้สิทธิ์ลงเล่นในรอบแบ่งกลุ่มโดยอัตโนมัติ[7][8] อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่บาร์เซโลนาได้เข้ารวบแบ่งกลุ่มอยู่แล้ว (สโมสรชนะเลิศลาลิกา 2014–15) สิทธิ์ของสโมสรชนะเลิศแชมเปียนส์ลีกในรอบแบ่งกลุ่ม จึงยกสิทธิ์ให้ เซบิยา ซึ่งเป็นสโมสรชนะเลิศยูโรปาลีกแทน[9][10]

สโมสรที่เข้ารอบนี้ สโมสรจากรอบก่อนหน้า
รอบคัดเลือกรอบแรก
(8 สโมสร)
  • 8 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 47–54
รอบคัดเลือกรอบสอง
(34 สโมสร)
  • 30 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 16–46 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์)
  • 4 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกรอบแรก
รอบคัดเลือกรอบสาม ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
(20 สโมสร)
  • 3 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 13–15
  • 17 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกรอบสอง
ตัวแทนจากลีก
(10 สโมสร)
  • 9 สโมสรอันดับที่ 2 จากสมาคมอันดับที่ 7–15
  • 1 สโมสรอันดับที่ 3 จากสมาคมอันดับที่ 6
รอบเพลย์ออฟ ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
(10 สโมสร)
  • 10 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกรอบสาม (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก)
ตัวแทนจากลีก
(10 สโมสร)
  • 2 สโมสรอันดับที่ 3 จากสมาคมอันดับที่ 4–5
  • 3 สโมสรอันดับที่ 4 จากสมาคมอันดับที่ 1–3
  • 5 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกรอบสาม (ตัวแทนจากลีก)
รอบแบ่งกลุ่ม
(32 สโมสร)
  • 12 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 1–12
  • 6 สโมสรอันดับที่ 2 จากสมาคมอันดับที่ 1–6
  • 3 สโมสรอันดับที่ 3 จากสมาคมอันดับที่ 1–3
  • สโมสรชนะเลิศยูโรปาลีก
  • 5 สโมสรที่ชนะในรอบเพลย์ออฟ (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก)
  • 5 สโมสรที่ชนะในรอบเพลย์ออฟ (ตัวแทนจากลีก)
รอบแพ้คัดออก
(16 สโมสร)
  • 8 สโมสรชนะเลิศในรอบแบ่งกลุ่ม
  • 8 สโมสรอันดับที่ 2 ในรอบแบ่งกลุ่ม

สโมสร

[แก้]
รอบแบ่งกลุ่ม
สเปน บาร์เซโลนา (อันดับที่ 1) เยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก (อันดับที่ 1) โปรตุเกส สปอร์ติงลิสบอน (อันดับที่ 2) เบลเยียม กลึบบรึคเคอ (อันดับที่ 1)
สเปน เรอัลมาดริด (อันดับที่ 2) เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ (อันดับที่ 2) ฝรั่งเศส ปารี แซ็ง-แฌร์แม็ง (อันดับที่ 1) สวิตเซอร์แลนด์ บาเซิล (อันดับที่ 1)
สเปน อัตเลติโกเดมาดริด (อันดับที่ 3) เยอรมนี ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน (อันดับที่ 3) ฝรั่งเศส ลียง (อันดับที่ 2) ตุรกี เบซิคตัส (อันดับที่ 1)
อังกฤษ เลสเตอร์ซิตี (อันดับที่ 1) อิตาลี ยูเวนตุส (อันดับที่ 1) รัสเซีย ซีเอสเคเอ มอสโก (อันดับที่ 1) สเปน เซบิยา (EL)
อังกฤษ อาร์เซนอล (อันดับที่ 2) อิตาลี นาโปลี (อันดับที่ 2) ยูเครน ดีนาโม เคียฟ (อันดับที่ 1)
อังกฤษ ทอตนัม ฮอตสเปอร์ (อันดับที่ 3) โปรตุเกส ไบฟีกา (อันดับที่ 1) เนเธอร์แลนด์ เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน (อันดับที่ 1)
รอบเพลย์ออฟ
เส้นทางแชมป์ลีก เส้นทางไม่ได้เป็นแชมป์ลีก
สเปน บิยาร์เรอัล (อันดับที่ 4) เยอรมนี โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค (อันดับที่ 4) โปรตุเกส โปร์ตู (อันดับที่ 3)
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี (อันดับที่ 4) อิตาลี โรมา (อันดับที่ 3)
รอบคัดเลือกรอบสาม
เส้นทางแชมป์ลีก เส้นทางไม่ได้เป็นแชมป์ลีก
กรีซ โอลิมเปียกอส (อันดับที่ 1) ฝรั่งเศส มอนาโก (อันดับที่ 3) เบลเยียม ออนเดอร์เลชท์ (อันดับที่ 2) เช็กเกีย สปาร์ตา ปราก (อันดับที่ 2)
เช็กเกีย วิกตอเรีย พลาเซิน (อันดับที่ 1) รัสเซีย รอสตอฟ (อันดับที่ 2) สวิตเซอร์แลนด์ ยัง บอยส์ (อันดับที่ 2) โรมาเนีย สเตอัว บูคูเรสตี (อันดับที่ 2)
โรมาเนีย อัสตรา จีอูร์จีอู (อันดับที่ 1) ยูเครน ชัคตาร์ โดเนตสค์ (อันดับที่ 2) ตุรกี เฟแนร์บาห์แช (อันดับที่ 2)
เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ (อันดับที่ 2) กรีซ พีเอโอเค (อันดับที่ 2)
รอบคัดเลือกรอบสอง
ออสเตรีย เรด บูลล์ ซัลซ์บวร์ก (อันดับที่ 1) สวีเดน ไอเอฟเค นอร์รโคปิง (อันดับที่ 1) คาซัคสถาน อัสตานา (อันดับที่ 1) มอนเตเนโกร มลาโดสต์ โปดโกรีกา (อันดับที่ 1)
โครเอเชีย ดีนาโม ซาเกร็บ (อันดับที่ 1) บัลแกเรีย ลูโดโกเร็ตส์ รัซกราด (อันดับที่ 1) มอลโดวา เชอริฟฟ์ ติราสโพล (อันดับที่ 1) แอลเบเนีย ปาร์ติซานี ติรานา (อันดับที่ 2)[Note ALB]
ไซปรัส อาโปเอล (อันดับที่ 1) นอร์เวย์ โรเซนบอร์ก (อันดับที่ 1) ประเทศจอร์เจีย ดินาโม ทบิลิซี (อันดับที่ 1) ลักเซมเบิร์ก เอฟ91 ดูเดลันเก (อันดับที่ 1)
โปแลนด์ ลีเกีย วอร์ซอว์ (อันดับที่ 1) เซอร์เบีย เรด สตาร์ เบลเกรด (อันดับที่ 1) ฟินแลนด์ เอสเจเค (อันดับที่ 1) ไอร์แลนด์เหนือ ครูเซเดอร์ส (อันดับที่ 1)
อิสราเอล ฮาโปเอล เบียร์ เชวา (อันดับที่ 1) สโลวีเนีย โอลิมปิจา ลจุบจานา (อันดับที่ 1) ไอซ์แลนด์ เอฟเอช (อันดับที่ 1) ลิทัวเนีย ซัลกิริส วิลนิอุส (อันดับที่ 1)
เบลารุส บาเต บอรีซอฟ (อันดับที่ 1) อาเซอร์ไบจาน คาราบัค (อันดับที่ 1) บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซรินจ์สกี โมสตาร์ (อันดับที่ 1) ลัตเวีย ไลปายา (อันดับที่ 1)
เดนมาร์ก โคเปนเฮเกน (อันดับที่ 1) สโลวาเกีย เทรนซิน (อันดับที่ 1) มาซิโดเนียเหนือ วาร์ดาร์ (อันดับที่ 1)
สกอตแลนด์ เซลติก (อันดับที่ 1) ฮังการี เฟเรนซ์วารอส (อันดับที่ 1) สาธารณรัฐไอร์แลนด์ ดันดอล์ก (อันดับที่ 1)
รอบคัดเลือกรอบแรก
มอลตา วัลเลตตา (อันดับที่ 1) หมู่เกาะแฟโร บี36 ทอร์ชาฟน์ (อันดับที่ 1) อาร์มีเนีย อลาชเคิร์ท (อันดับที่ 1) ซานมารีโน เทร์ เพนเน (อันดับที่ 1)
เอสโตเนีย ฟลอรา ทาลลินน์ (อันดับที่ 1) เวลส์ เดอะ นิว เซนต์ส (อันดับที่ 1) อันดอร์รา ซานตา โคโลมา (อันดับที่ 1) ยิบรอลตาร์ ลินคอล์น เรด อิมป์ส (อันดับที่ 1)
หมายเหตุ
  1. ^ Albania (ALB): สเคนเดอร์เบอู คอร์เช would have qualified for the Champions League second qualifying round as the champions of the แอลเบเนียนซูเปอร์ลีกา ฤดูกาล 2015–16, but were excluded from participating in the 2016–17 European competitions by UEFA for match-fixing.[11][12] They appealed the decision to the Court of Arbitration for Sport, and UEFA agreed to suspend the exclusion and Skënderbeu Korçë were included in the second qualifying round draw.[13] The final decision to exclude Skënderbeu Korçë was made by the Court of Arbitration for Sport on 6 July 2016, before the second qualifying round was played.[14][15] As a result, the berth was given to the runners-up ปาร์ติซานี ติรานา.[16]

รอบคัดเลือก

[แก้]

รอบคัดเลือกรอบแรก

[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบแรกและรอบคัดเลือกรอบสองจะมีขึ้นเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016).[17][18] เลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 28 มิถุนายน, และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 5 และ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016).

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
ฟลอรา ทาลลินน์ เอสโตเนีย 2–3 ยิบรอลตาร์ ลินคอล์น เรด อิมป์ส 2–1 0–2
เดอะ นิว เซนต์ส เวลส์ 5–1 ซานมารีโน เทร์ เพนเน 2–1 3–0
วัลเลตตา มอลตา 2–2 (a) หมู่เกาะแฟโร บี36 ทอร์ชาฟน์ 1–0 1–2
ซานตา โคโลมา อันดอร์รา 0–3 อาร์มีเนีย อลาชเคิร์ท 0–0 0–3

รอบคัดเลือกรอบสอง

[แก้]

เลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 12 และ 13 กรกฎาคม, และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 19 และ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016).

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
คาราบัค อาเซอร์ไบจาน 3–1 ลักเซมเบิร์ก เอฟ91 ดูเดแลงก์ 2–0 1–1
ฮาโปเอล เบียร์ เชวา อิสราเอล 3–2 มอลโดวา เชอริฟฟ์ ติราสโพล 3–2 0–0
โอลิมปิจา ลจุบจานา สโลวีเนีย 6–6 (a) สโลวาเกีย เทรนซิน 3–4 3–2
เรด บูลล์ ซัลซ์บวร์ก ออสเตรีย 3–0 ลัตเวีย ไลปายา 1–0 2–0
วาร์ดาร์ มาซิโดเนียเหนือ 3–5 โครเอเชีย ดีนาโม ซาเกร็บ 1–2 2–3
เดอะ นิว เซนต์ส เวลส์ 0–3 ไซปรัส อาโปเอล 0–0 0–3
ซรินจ์สกี โมสตาร์ บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 1–3 โปแลนด์ ลีเกีย วอร์ซอว์ 1–1 0–2
ลูโดโกเรตส์ รัซกราด บัลแกเรีย 5–0 มอนเตเนโกร มลาดอสท์ พอดโกริกา 2–0 3–0
ดินาโม ทบิลิซี ประเทศจอร์เจีย 3–1 อาร์มีเนีย อลาชเคิร์ท 2–0 1–1
ซัลกิริส วิลนิอุส ลิทัวเนีย 1–2 คาซัคสถาน อัสตานา 0–0 1–2
ปาร์ติซานี ติรานา แอลเบเนีย 2–2 (3–1 p) ฮังการี เฟเรนซ์วารอส 1–1 1–1
(ต่อเวลา)
บาเต บอริซอฟ เบลารุส 4–2 ฟินแลนด์ เอสเจเค 2–0 2–2
วัลเลตตา มอลตา 2–4 เซอร์เบีย เรด สตาร์ เบลเกรด 1–2 1–2
โรเซนบอร์ก นอร์เวย์ 5–4 สวีเดน ไอเอฟเค นอร์โคปิง 3–1 2–3
ดันดาล์ค สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 3–3 (a) ไอซ์แลนด์ เอฟเอช 1–1 2–2
ลินคอล์น เรด อิมป์ส ยิบรอลตาร์ 1–3 สกอตแลนด์ เซลติก 1–0 0–3
ครูซาเดอร์ส ไอร์แลนด์เหนือ 0–9 เดนมาร์ก โคเปนเฮเกน 0–3 0–6

รอบคัดเลือกรอบสาม

[แก้]

รอบคัดเลือกรอบสามได้ถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน: เส้นทางแชมป์ลีก (สำหรับแชมป์ลีก) และเส้นทางทีมที่ไม่ได้เป็นแชมป์ลีก (สำหรับไม่ได้เป็นแชมป์ลีก). ทีมผู้แพ้ของทั้งสองส่วนจะได้เข้าสู่ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบเพลย์ออฟ.

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบสามจะมีขึ้นในวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016).[19] นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 26 และ 27 กรกฎาคม, และนัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 2 และ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016).

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
เส้นทางแชมป์ลีก
โรเซนบอร์ก นอร์เวย์ 2–4 ไซปรัส อาโปเอล 2–1 0–3
ดีนาโม ซาเกร็บ โครเอเชีย 3–0 ประเทศจอร์เจีย ดีนาโม ทบิลิซี 2–0 1–0
โอลิมเปียกอส กรีซ 0–1 อิสราเอล ฮาโปเอล เบียร์ เชวา 0–0 1–0
อัสตานา คาซัคสถาน 2–3 สกอตแลนด์ เซลติก 1–1 1–2
เทรนซิน สโลวาเกีย 0–1 โปแลนด์ ลีเกีย วอร์ซอว์ 0–1 0–0
วิกตอเรีย พิลเซน เช็กเกีย 1–1 (a) อาเซอร์ไบจาน คาราบัค 0–0 1–1
อัสตรา จีอูร์จีอู โรมาเนีย 1–4 เดนมาร์ก โคเปนเฮเกน 1–1 0–3
บาแตบารือเซา เบลารุส 1–3 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ ดันดาล์ค 1–0 0–3
ลูโดโกเรตส์ ราซกราด บัลแกเรีย 6–4 เซอร์เบีย เรด สตาร์ เบลเกรด 2–2 4–2
(ต่อเวลา)
ปาร์ติซานี ติรานา แอลเบเนีย 0–3 ออสเตรีย เรด บูลล์ ซัลซ์บวร์ก 0–1 0–2
เส้นทางทีมที่ไม่ได้เป็นแชมป์ลีก
อายักซ์ เนเธอร์แลนด์ 3–2 กรีซ พีเอโอเค 1–1 2–1
สปาร์ตา ปราก เช็กเกีย 1–3 โรมาเนีย สเตอัว บูคาเรสต์ 1–1 0–2
ชัคตาร์ โดเนตสค์ ยูเครน 2–2 (2–4 p) สวิตเซอร์แลนด์ ยัง บอยส์ 2–0 0–2
(ต่อเวลา)
รอสตอฟ รัสเซีย 4–2 เบลเยียม ออนเดอร์เลชท์ 2–2 2–0
เฟแนร์บาห์แช ตุรกี 3–4 ฝรั่งเศส ม��นาโก 2–1 1–3

รอบเพลย์ออฟ

[แก้]

รอบเพลย์ออฟได้ถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน: เส้นทางแชมป์ลีก (สำหรับแชมป์ลีก) และเส้นทางทีมที่ไม่ได้เป็นแชมป์ลีก (สำหรับไม่ได้เป็นแชมป์ลีก). ทีมผู้แพ้ของทั้งสองส่วนจะได้เข้าสู่ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2016–17 รอบแบ่งกลุ่ม.

การจับสลากสำหรับรอบเพลย์ออฟจะมีขึ้นในวันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016).[20] นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 16 และ 17 สิงหาคม, และนัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 23 และ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016).

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
เส้นทางทีมที่ได้เป็นแชมป์ลีก
ลูโดโกเรตส์ รัซกราด บัลแกเรีย 4–2 เช็กเกีย วิกตอเรีย พิลเซน 2–0 2–2
เซลติก สกอตแลนด์ 5–4 อิสราเอล ฮาโปเอล เบียร์ ชีวา 5–2 0–2
โคเปนเฮเกน เดนมาร์ก 2–1 ไซปรัส อาโปเอล 1–0 1–1
ดันดาล์ค สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 1–3 โปแลนด์ ลีเกีย วอร์ซอว์ 0–2 1–1
ดีนาโม ซาเกร็บ โครเอเชีย 3–2 ออสเตรีย เรด บูลล์ ซัลซ์บวร์ก 1–1 2–1
(ต่อเวลา)
เส้นทางทีมที่ไม่ได้เป็นแชมป์ลีก
สเตอัว บูคาเรสต์ โรมาเนีย 0–6 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 0–5 0–1
โปร์ตู โปรตุเกส 4–1 อิตาลี โรมา 1–1 3–0
อายักซ์ เนเธอร์แลนด์ 2–5 รัสเซีย รอสตอฟ 1–1 1–4
ยัง บอยส์ สวิตเซอร์แลนด์ 2–9 เยอรมนี โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค 1–3 1–6
บิยาร์เรอัล สเปน 1–3 ฝรั่งเศส มอนาโก 1–2 0–1

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

การจับสลากสำหรับรองแบ่งกลุ่มในวันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016), มีขึ้นที่ กริมัลดี ฟอรัม ใน ราชรัฐโมนาโก.[21]

หมายเหตุ: ค่าสัมประสิทธิ์สโมสรยูฟ่า (CC) หลังจบฤดูกาล 2015–16, ซึ่งจะใช้สำหรับทีมวาง, ซึ่งจะแสดงอยู่ในตัวเอียง.

กลุ่ม A

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ARS PSG LUD BAS
1 อังกฤษ อาร์เซนอล 6 4 2 0 18 6 +12 14 เข้าสู่รอบแพ้คัดออก 2–2 6–0 2–0
2 ฝรั่งเศส ปารี แซ็ง-แฌร์แม็ง 6 3 3 0 13 7 +6 12 1–1 2–2 3–0
3 บัลแกเรีย ลูโดโกเรตส์ รัซกราด 6 0 3 3 6 15 −9 3 เข้าร่วมแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก 2–3 1–3 0–0
4 สวิตเซอร์แลนด์ บาเซิล 6 0 2 4 3 12 −9 2 1–4 1–2 1–1
แหล่งที่มา : ยูฟ่า

กลุ่ม B

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ NAP BEN BES DK
1 อิตาลี นาโปลี 6 3 2 1 11 8 +3 11 เข้าสู่รอบแพ้คัดออก 4–2 2–3 0–0
2 โปรตุเกส ไบฟีกา 6 2 2 2 10 10 0 8 1–2 1–1 1–0
3 ตุรกี เบซิกตัส 6 1 4 1 9 14 −5 7 เข้าร่วมแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก 1–1 3–3 1–1
4 ยูเครน ดีนาโม เคียฟ 6 1 2 3 8 6 +2 5 1–2 0–2 6–0
แหล่งที่มา : ยูฟ่า

กลุ่ม C

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ BAR MC MGL CEL
1 สเปน บาร์เซโลนา 6 5 0 1 20 4 +16 15 เข้าสู่รอบแพ้คัดออก 4–0 4–0 7–0
2 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 6 2 3 1 12 10 +2 9 3–1 4–0 1–1
3 เยอรมนี โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค 6 1 2 3 5 12 −7 5 เข้าร่วมแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก 1–2 1–1 1–1
4 สกอตแลนด์ เซลติก 6 0 3 3 5 16 −11 3 0–2 3–3 0–2
แหล่งที่มา : ยูฟ่า

กลุ่ม D

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ATL BAY ROS PSV
1 สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 6 5 0 1 7 2 +5 15 เข้าสู่รอบแพ้คัดออก 1–0 2–1 2–0
2 เยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก 6 4 0 2 14 6 +8 12 1–0 5–0 4–1
3 รัสเซีย รอสตอฟ 6 1 2 3 6 12 −6 5 เข้าร่วมแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก 0–1 3–2 2–2
4 เนเธอร์แลนด์ เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน 6 0 2 4 4 11 −7 2 0–1 1–2 0–0
แหล่งที่มา : ยูฟ่า

กลุ่ม E

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การ���่านเข้ารอบ MON BL TOT CSM
1 ฝรั่งเศส มอนาโก 6 3 2 1 9 7 +2 11 เข้าสู่รอบแพ้คัดออก 1–1 2–1 3–0
2 เยอรมนี ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน 6 2 4 0 8 4 +4 10 3–0 0–0 2–2
3 อังกฤษ ทอตนัม ฮอตสเปอร์ 6 2 1 3 6 6 0 7 เข้าร่วมแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก 1–2 0–1 3–1
4 รัสเซีย ซีเอสเคเอ มอสโก 6 0 3 3 5 11 −6 3 1–1 1–1 0–1
แหล่งที่มา : ยูฟ่า

กลุ่ม F

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ DOR RM LEG SCP
1 เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 6 4 2 0 21 9 +12 14 เข้าสู่รอบแพ้คัดออก 2–2 8–4 1–0
2 สเปน เรอัลมาดริด 6 3 3 0 16 10 +6 12 2–2 5–1 2–1
3 โปแลนด์ แลเกียวอร์ซอ 6 1 1 4 9 24 −15 4 เข้าร่วมแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก 0–6 3–3 1–0
4 โปรตุเกส สปอร์ติงลิสบอน 6 1 0 5 5 8 −3 3 1–2 1–2 2–0
แหล่งที่มา : ยูฟ่า

กลุ่ม G

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ LEI POR COP CLU
1 อังกฤษ เลสเตอร์ซิตี 6 4 1 1 7 6 +1 13 เข้าสู่รอบแพ้คัดออก 1–0 1–0 2–1
2 โปรตุเกส โปร์ตู 6 3 2 1 9 3 +6 11 5–0 1–1 1–0
3 เดนมาร์ก โคเปนเฮเกน 6 2 3 1 7 2 +5 9 เข้าร่วมแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก 0–0 0–0 4–0
4 เบลเยียม กลึบบรึคเคอ 6 0 0 6 2 14 −12 0 0–3 1–2 0–2
แหล่งที่มา : ยูฟ่า

กลุ่ม H

[แก้]
อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ JUV SEV OL DZ
1 อิตาลี ยูเวนตุส 6 4 2 0 11 2 +9 14 เข้าสู่รอบแพ้คัดออก 0–0 1–1 2–0
2 สเปน เซบิยา 6 3 2 1 7 3 +4 11 1–3 1–0 4–0
3 ฝรั่งเศส ลียง 6 2 2 2 5 3 +2 8 เข้าร่วมแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก 0–1 0–0 3–0
4 โครเอเชีย ดีนาโมซาเกร็บ 6 0 0 6 0 15 −15 0 0–4 0–1 0–1
แหล่งที่มา : ยูฟ่า

รอบแพ้คัดออก

[แก้]

ในรอบแพ้คัดออก หรือรอบน็อกเอาต์ แต่ละทีมจะเล่น 2 นัด โดยแบ่งเป็นเหย้าและเยือน ส่วนนัดชิงชนะเลิศจะเล่นเพียงนัดเดียว ในการจับสลากแบ่งสายของรอบ 16 ทีมสุดท้าย จะนำทีมอันดับที่ 1 ของแต่ละกลุ่ม มาพบกับทีมอันดับที่ 2 ของแต่ละกลุ่ม โดยทีมอันดับที่ 2 ของแต่ละกลุ่มนั้นจะได้เล่นเป็นเจ้าบ้านก่อน ส่วนรอบ 8 ทีมสุดท้ายจะไม่มีการจับสลากแบ่งสาย แต่จะเป็นการเข้ารอบมาพบกันเองแล้วเจอกันใหม่

สายการแข่งขัน

[แก้]
  รอบ 16 ทีมสุดท้าย รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                                         
 โปรตุเกส ไบฟีกา 1 0 1  
 เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 0 4 4  
   เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 2 1 3  
   ฝรั่งเศส มอนาโก 3 3 6  
 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 5 1 6
 ฝรั่งเศส มอนาโก () 3 3 6  
   ฝรั่งเศส มอนาโก 0 1 1  
   อิตาลี ยูเวนตุส 2 2 4  
 โปรตุเกส โปร์ตู 0 0 0  
 อิตาลี ยูเวนตุส 2 1 3  
   อิตาลี ยูเวนตุส 3 0 3
   สเปน บาร์เซโลนา 0 0 0  
 ฝรั่งเศส ปารี แซ็ง-แฌร์แม็ง 4 1 5
 สเปน บาร์เซโลนา 0 6 6  
   อิตาลี ยูเวนตุส 1
   สเปน เรอัลมาดริด 4
 เยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก 5 5 10  
 อังกฤษ อาร์เซนอล 1 1 2  
   เยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก 1 2 3
   สเปน เรอัลมาดริด
(ต่อเวลา)
2 4 6  
 สเปน เรอัลมาดริด 3 3 6
 อิตาลี นาโปลี 1 1 2  
   สเปน เรอัลมาดริด 3 1 4
   สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 0 2 2  
 เยอรมนี ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน 2 0 2  
 สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 4 0 4  
   สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 1 1 2
   อังกฤษ เลสเตอร์ซิตี 0 1 1  
 สเปน เซบิยา 2 0 2
 อังกฤษ เลสเตอร์ซิตี 1 2 3  

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

[แก้]

พิธีการจับสลากประกบคู่สำหรับรอบ 16 ทีมสุดท้ายมีขึ้นในวันที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016).[22] รอบ 16 ทีมสุดท้าย นัดแรก จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 14, 15, 21 และ 22 กุมภาพันธ์, และรอบ 16 ทีมสุดท้าย นัดที่ 2 จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 7, 8, 14 และ 15 มีนาคม พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017).

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
แมนเชสเตอร์ซิตี อังกฤษ 6–6 (a) ฝรั่งเศส มอนาโก 5–3 1–3
เรอัลมาดริด สเปน 6–2 อิตาลี นาโปลี 3–1 3–1
ไบฟีกา โปรตุเกส 1–4 เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 1–0 0–4
บาเยิร์นมิวนิก เยอรมนี 10–2 อังกฤษ อาร์เซนอล 5–1 5–1
โปร์ตู โปรตุเกส 0–3 อิตาลี ยูเวนตุส 0–2 0–1
ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน เยอรมนี 2–4 สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 2–4 0–0
ปารี แซ็ง-แฌร์แม็ง ฝรั่งเศส 5–6 สเปน บาร์เซโลนา 4–0 1–6
เซบิยา สเปน 2–3 อังกฤษ เลสเตอร์ซิตี 2–1 0–2

รอบ 8 ทีมสุดท้าย

[แก้]

การจับสลากประกบคู่สำหรับรอบ 8 ทีมสุดท้ายมีขึ้นในวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017).[23] รอบ 8 ทีมสุดท้าย นัดแรก จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 11 และ 12 เมษายน, และรอบ 8 ทีมสุดท้าย นัดที่ 2 จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 18 และ 19 เมษายน พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017).

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
อัตเลติโกเดมาดริด สเปน 2–1 อังกฤษ เลสเตอร์ซิตี 1–0 1–1
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ เยอรมนี 3–6 ฝรั่งเศส มอนาโก 2–3 1–3
บาเยิร์นมิวนิก เยอรมนี 3–6 สเปน เรอัลมาดริด 1–2 2–4
(ต่อเวลา)
ยูเวนตุส อิตาลี 3–0 สเปน บาร์เซโลนา 3–0 0–0

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]

การจับสลากประกบคู่รอบรองชนะเลิศมีขึ้นในวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017).[24] รอบรองชนะเลิศ นัดแรก จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 2 และ 3 พฤษภาคม, และรอบรองชนะเลิศ นัดที่ 2 จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 9 และ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017).

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
เรอัลมาดริด สเปน 4–2 สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 3–0 1–2
มอนาโก ฝรั่งเศส 1–4 อิตาลี ยูเวนตุส 0–2 1–2

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]

นัดชิงชนะเลิศจะลงทำการแข่งขันในวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2560 (ค.ศ. 2017) ที่สนาม มิลเลนเนียมสเตเดียม ใน คาร์ดิฟฟ์, ประเทศเวลส์.[25] ทีม "เจ้าบ้าน" (สำหรับเหตุผลในการจัดการ) ได้ถูกกำหนดโดยกานจับสลากที่จัดขึ้นหลังจบพิธีการจับสลากรอบรองชนะเลิศ.

สถิติการทำประตู

[แก้]

สถิติรวมตั้งแต่รอบคัดเลือก และ รอบเพลย์ออฟ.

หมายเหตุ: ผู้เล่นและทีมที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน.

ณ วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2560
ลำดับ ชื่อ ทีม ประตู เวลาที่เล่น
1 โปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด สเปน เรอัลมาดริด 12 1110
2 อาร์เจนตินา เลียวเนล เมสซี สเปน บาร์เซโลนา 11 810
3 อุรุกวัย เอดินซอน กาบานี ฝรั่งเศส ปารี แซ็ง-แฌร์แม็ง 8 720
โปแลนด์ รอแบร์ต แลวันดอฟสกี เยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก 794
5 กาบอง ปีแยร์-แอเมอริก โอบาเมอย็องก์ เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 7 708
6 ฝรั่งเศส กีลียาน อึมบาเป ฝรั่งเศส มอนาโก 6 536
ฝรั่งเศส อ็องตวน กรีแยซมาน สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 1068
8 อาร์เจนตินา เซร์คีโอ อะกูเอโร อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 5 541
เบลเยียม ดรีส แมร์เตินส์ อิตาลี นาโปลี 571
โคลอมเบีย ราดาเมล ฟัลกาโอ ฝรั่งเศส มอนาโก 666
ฝรั่งเศส การีม แบนเซมา สเปน เรอัลมาดริด 877
อาร์เจนตินา กอนซาโล อีกวาอิน อิตาลี ยูเวนตุส 949

แหล่งที่มา:[27]

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Champions League: Cardiff's Millennium Stadium to host 2017 final". BBC Sport. 30 June 2015. สืบค้นเมื่อ 30 June 2015.
  2. "Cardiff to host 2017 Champions League final". UEFA. 30 June 2015. สืบค้นเมื่อ 30 June 2015.
  3. "Regulations of the UEFA Champions League 2015/16 Season" (PDF). UEFA.com. 1 พฤษภาคม ค.ศ. 2015. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  4. "How the Europa League winners will enter the Champions League". UEFA.com. 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2015. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  5. "Country coefficients 2014/15". UEFA.com.
  6. "UEFA Country Ranking 2015". Bert Kassies. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-16. สืบค้นเมื่อ 2016-04-14.
  7. "Preliminary Access List 2015/16" (PDF). Bert Kassies. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-05-07. สืบค้นเมื่อ 2016-04-14.
  8. "UEFA Champions League Access List 2015/16". UEFA.com.
  9. "Access list 2015/2016". Bert Kassies. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-10. สืบค้นเมื่อ 2016-04-14.
  10. "Who is in Champions League and Europa League?". UEFA.com. 7 June 2015.
  11. "UEFA pezullon padrejtësisht Skëndërbeun nga Europa për sezonin 2016- 2017" [UEFA unfairly suspending Skënderbeu from Europe for the 2016–2017 season]. kfskenderbeu.al (ภาษาแอลเบเนีย). Skënderbeu Korçë. 6 June 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-12. สืบค้นเมื่อ 7 June 2016.
  12. "Albania's KF Skenderbeu banned from Europe for match-fixing". espnfc.com. ESPN FC. 6 June 2016. สืบค้นเมื่อ 7 June 2016.
  13. "Skënderbeu apelon në CAS, UEFA e fut përkohësisht në short". supersport.al. 16 June 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-15. สืบค้นเมื่อ 2016-07-14.
  14. "UEFA welcomes CAS decision on Skënderbeu". UEFA.org. Union of European Football Associations. 6 July 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-05-12. สืบค้นเมื่อ 6 July 2016.
  15. "Media release - Football - The appeal filed by KS Skenderbeu is dismissed by the Court of Arbitration for Sport (CAS)" (pdf). tas-cas.org. Court of Arbitration for Sport. 6 July 2016. สืบค้นเมื่อ 6 July 2016.
  16. "Partizani replace Skënderbeu in Champions League". UEFA.com. Union of European Football Associations. 6 July 2016. สืบค้นเมื่อ 6 July 2016.
  17. "Champions League first and second qualifying round draws". UEFA.com. Union of European Football Associations. 20 มิถุนายน ค.ศ. 2016. สืบค้นเมื่อ 20 มิถุนายน ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  18. "First and second qualifying round draws". UEFA.com. Union of European Football Associations. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-17. สืบค้นเมื่อ 20 June 2016.
  19. "UEFA Champions League third qualifying round draw". UEFA.com. Union of European Football Associations. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-07-16. สืบค้นเมื่อ 10 มิถุนายน ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  20. "UEFA Champions League play-off draw". UEFA.com. Union of European Football Associations. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-06. สืบค้นเมื่อ 10 June 2016.
  21. "UEFA Champions League group stage draw". UEFA.com. Union of European Football Associations. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-27. สืบค้นเมื่อ 13 มิถุนายน ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  22. "UEFA Champions League round of 16 draw". UEFA.com. Union of European Football Associations. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-13. สืบค้นเมื่อ 26 มิถุนายน ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  23. "UEFA Champions League quarter-final draw". UEFA.com. Union of European Football Associations. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-06-19. สืบค้นเมื่อ 26 มิถุนายน ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  24. "UEFA Champions League semi-final draw". UEFA.com. Union of European Football Associations. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-22. สืบค้นเมื่อ 26 มิถุนายน ค.ศ. 2016. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  25. "2017 UEFA Champions League final: Cardiff". UEFA.com. Union of European Football Associations. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-06-16. สืบค้นเมื่อ 2016-12-10.
  26. "Full Time Report Final – Juventus v Real Madrid" (PDF). UEFA.org. Union of European Football Associations. 3 มิถุนายน ค.ศ. 2017. สืบค้นเมื่อ 3 มิถุนายน ค.ศ. 2017. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  27. "Statistics — Tournament phase — Players — Goals". UEFA.com. Union of European Football Associations. สืบค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2560. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)