ยุทธการที่เวลีคีเยลูคี
หน้าตา
ยุทธการที่เวลีคีเยลูคี | |||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ แนวรบด้านตะวันออกในสงครามโลกครั้งที่สอง | |||||||
เวลีคีเยลูคี(สีแดง, บนด้านซ้าย) และเส้นทางรถไฟลำเลียงที่ใกล้เคียง, ในหัวข้อการรุกของโซเวียตในปี ค.ศ. 1942-1943(คลิกภาพเพื่อขยาย) | |||||||
| |||||||
คู่สงคราม | |||||||
ไรช์เยอรมัน | สหภาพโซเวียต | ||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||
Kurt von der Chevallerie | Maksim Purkayev | ||||||
กำลัง | |||||||
LIX Korps – ~50,000 (on 19 Nov) Reinforcement forces: ~50,000[1] |
3rd Shock Army – 95,608 (on 19 Nov) Reinforcement forces: 86,700[2] | ||||||
ความสูญเสีย | |||||||
Soviet estimate: ~60.000 killed, missing or wounded, 4.500 captured[3] |
104,022 31,674 killed or missing 72,348 wounded[4] |
ปฏิบัติการรุกเวลีคีเยลูคี ได้ถูกดำเนินโดยกองกำลังแห่งกองทัพแดงของแนวรบคาลินินปะทะกับกองทัพพันเซอร์ที่ 3 แห่งกองทัพเวร์มัคท์ในช่วงการทัพฤดูหนาวในปี ค.ศ. 1942-1943 ด้วยวัตถุประสงค์คือการปลดปล่อยเมืองรัสเซียที่เวลีคีเยลูคี เป็นส่วนหนึ่งของการโอบล้อมแบบก้ามปูทางตอนเหนือของปฏิบัติการรุกทางยุทธศาสตร์รเจฟ-Sychevka (ปฏิบัติการมาส์)
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Oldwitg von Natzmer. Operations of Encircled Forces. German Experiences in Russia. — Department of the Army, Washington, DC 1952. (Oldwitg von Natzmer). Washington DC. 1952
- ↑ Галицкий К. Н. Годы суровых испытаний. 1941—1944 (записки командарма) — М.: Наука, 1973. стр.185
- ↑ Великая Отечественная война. 1941—1945 гг. Справочное пособие/ Автор-составитель И. И. Максимов. — М.: Издательство «ДИК», 2005. ISBN 5-8213-0232-3
- ↑ Glantz (1995), p. 296