ข้ามไปเนื้อหา

พูดคุย:กาลิเลโอ กาลิเลอี

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
เพิ่มหัวข้อ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
วิทยาศาสตร์ กาลิเลโอ กาลิเลอี เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิวิทยาศาสตร์และสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ ทฤษฏีวิทยาศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์ และอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ กาลิเลโอ กาลิเลอี หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 บทความคุณภาพ คุณภาพ  บทความนี้อยู่ที่ระดับคุณภาพ ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
กาลิเลโอ กาลิเลอี เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิดาราศาสตร์และสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับดาราศาสตร์และจักรวาลอันน่าพิศวงของเรา ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ กาลิเลโอ กาลิเลอี หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 บทความคุณภาพ คุณภาพ  บทความนี้อยู่ที่ระดับคุณภาพ ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
กาลิเลโอ กาลิเลอี เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประวัติศาสตร์และสถานีย่อย โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประวัติศาสตร์โลก เพื่อเป็นแนวทางสำหรับการศึกษาค้นคว้าที่น่าเชื่อถือสำหรับผู้อ่าน ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ กาลิเลโอ กาลิเลอี หรือแวะไปที่หน้าโครงการหรือหน้าสถานีย่อยเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 บทความคุณภาพ คุณภาพ  บทความนี้อยู่ที่ระดับคุณภาพ ตามการจัดระดับการเขียนบทความ
กาลิเลโอ กาลิเลอี เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิกิประเทศอิตาลี โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อรวบรวมเรื่องราวทุกอย่างเกี่ยวกับประเทศอิตาลี ทุกคนสามารถมีส่วนร่วมในโครงการนี้ได้ด้วยการช่วยกันพัฒนาบทความ กาลิเลโอ กาลิเลอี หรือแวะไปที่หน้าโครงการเพื่อดูข้อมูลเพิ่มเติม
 บทความคุณภาพ คุณภาพ  บทความนี้อยู่ที่ระดับคุณภาพ ตามการจัดระดับการเขียนบทความ

การพิสูจน์ค้านแนวคิดเรื่องโลกแบน

[แก้]

I cannot use Thai font now, so I can't edit the article by myself.

But I think there is a flaw in the article: Galileo didn't destroy the belief that our world is flat. Columbus perhaps did it. I think Galileo might be a very strong supportor of Copernican and Kepler theory, so that he did many experiments to support the theory. His experiments were very good so that they strongly influences the way of thinking to many brilliant researchers, e.g. Newton -- จุง 07:59, 9 มิถุนายน 2006 (UTC)

แก้ไขแล้วครับ กาลิเลโอ นำเรื่อง ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางจักรวาล มาเท่านั้น Liger 08:09, 9 มิถุนายน 2006 (UTC)

thanks for that correction :) จุง 11:28, 9 มิถุนายน 2006 (UTC)

การทดลองที่หอเอนปิซา

[แก้]

จากที่เคยทราบมา ข้อความ

ปี พ.ศ. 2133 (ค.ศ.1590) - ได้ค้นพบ กฏการตกของวัตถุ โดยมีการทดลองที่ หอเอนเมืองปิซา ยังเป็นประเด็นที่ถกเถียงกันอยู่ ในหนังสือหลายเล่มบอกว่ากาลิเลโอไม่เคยทำการทดลองนี้ ซึ่งเมื่อตรวจสอบดูในวิกิอังกฤษบทความ Galileo Galilei[1] มีเขียนไว้ดังนี้

"Though the story of the tower first appeared in a biography by Galileo's pupil Vincenzo Viviani, it is not now generally accepted as true. Moreover, Giambattista Benedetti had reached the same scientific conclusion years before, in 1553."

ผมเองก็ยังไม่เคยเห็นเอกสารอ้างอิงอื่นที่น่าเชื่อถือพอจะตัดสินได้ว่าการทดลองที่มีชื่อเสียงนี้ เคยเกิด/หรือไม่เคยเกิดกันแน่ แต่เท่าที่ทราบกฎการเคลื่อนที่ต่างๆ ของกาลิเลโอหาจากการเคลื่อนที่บนพื้นเอียงง่ายกว่าครับเพราะการเคลื่อนที่จะช้าลงเยอะ ในสมัยนั้นการจับเวลาคงเป็นเรื่องที่ลำบากมาก เพราะแม้แต่นาฬิกาแบบลูกตุ้มโบราณคงยังไม่มี(หลักการแกว่งของลูกตุ้มค้นพบโดยกาลิเลโอ ดังนั้นการพัฒนาจากหลักนี้จนไปถึงนาฬิกาแบบลูกตุ้มที่ใช้งานได้น่าจะใช้เวลาอยู่พอสมควร) ผมเชื่อโดยส่วนตัวว่าการจับเวลาให้ละเอียดเป็นหน่วยของวินาทีในสมัยนั้นน่าจะเป็นเรื่องยาก แต่ก็ไม่ใช่ว่าทำไม่ได้ ลองคิดดูเล่นๆถ้าใช้อุปกรณ์อย่าง Mariotte's bottle ที่ให้น้ำไหลออกมาด้วยอัตราที่คงที่ แล้วดูปริมาตรของน้ำในช่วงเวลาของเหตุการณ์ที่ต้องการวัด แล้วจึงไปคำนวณกลับเปรียบเทียบกับปริมาตรน้ำที่ไหลใน 1 นาที ก็น่าคงพอถูไถวัดเวลาในหน่วยวินาทีได้ แต่ก็คงยังยุ่งยากอยู่ดี

ดังการปล่อยวัตถุตกแล้วจับเวลาตรงๆคงน่าจะลำบากและไม่แม่นยำเท่าไหร่ด้วยเทคโนโลยีในสมัยนั้น สู้ทดลองบนพื้นเอียงไม่ได้ เพราะความเร่งของระบบจะเปลี่ยนเป็น โดยที่เป็นมุมของพื้นเอียง ถ้าพื้นเอียงไม่มาก ก็น่าจะวัดได้ง่ายขึ้น แต่ก็ไม่แน่กาลิเลโออาจจะมีวิธีของเขาในการทดลองให้วัตถุตกตรงๆที่พวกเราอาจยังคิดไม่ถึงก็ได้

shambhala 14:05, 10 มิถุนายน 2006 (UTC)