ข้ามไปเนื้อหา

พระแม่ราธา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พระแม่ราธา
เทวรูปพระกฤษณะและพระแม่ราธา ในเมืองมันดาปู (Mayapur Chandradoya Mandir)
ตำแหน่งเทวีแห่งความรัก ความจงรักภักดี ความเมตตา
จำพวกเทวีในศาสนาฮินดู อวตารของพระแม่ลักษมี ปัญจประกฤษติ ฮลาดินี ศักติของพระกฤษณะ
วิมานโคโลก, วฤนทาวัน, ไวกูณฐ์
อาวุธดอกบัว หม้อน้ำ
คู่ครองพระกฤษณะ
มนต์[1]
  • ॐ हरि राधिकये नमः
  • ॐ राधे स्वाहा
  • ॐ श्री श्री राधिकये स्वाहा
พระกฤษณะและพระนางราธา ผลงานของราชา รวิ วรรมา ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19

พระแม่ราธา (สันสกฤต: राधा, IAST: Rādhā) หรือ พระแม่ราธิกา เป็นเทวีในศาสนาฮินดูเป็นอีกปางหนึ่งของพระแม่ลักษมี[2][3] พระมเหสีของพระกฤษณะ เมื่อพระนารายณ์อวตารลงมาเป็นพระกฤษณะ พระแม่ลักษมีก็ได้เสด็จตามลงมาด้วยโดยในภาคนี้ทรงอวตารถึงสององค์ด้วยกันคือ พระแม่ราธาและพระแม่รุกขมิณี

เทวสถาน

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Ved Vyaas. Brahma Vaivarta Purana. Gita Press, Gorakhpur. p. 297.
  2. Jones, Naamleela Free (2015). "From Gods To Gamers: The Manifestation of the Avatar Throughout Religious History and Postmodern Culture". Berkeley Undergraduate Journal (ภาษาอังกฤษ). 28 (2): 8. doi:10.5070/B3282028582.
  3. Gokhale, Namita; Lal, Malashri (10 ธันวาคม 2018). Finding Radha: The Quest for Love (ภาษาอังกฤษ). Penguin Random House India Private Limited. ISBN 978-93-5305-361-1. Like Sita, Radha is also a manifestation of Lakshmi.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]