ดนตรีอินดัสเทรียล
อินดัสเตรียล | |
---|---|
แหล่งกำเนิดทางรูปแบบ | Musique concrète Fluxus movement ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์ เพอร์ฟอร์แม้นซ์อาร์ต เคราต์ร็อก ดนตรีน็อยส์ โพสต์-พังก์ |
แหล่งกำเนิดทางวัฒนธรรม | กลาง ยุค1970s; สหรัฐอเมริกา, เยอรมนี, ประเทศแคนาดา, และ สหราชอาณาจักร |
เครื่องบรรเลงสามัญ | เครื่องสัง���คราะห์เสียง - ดรัมแมชีน - เทปลูป - กลอง - กีตาร์ ซีเควนเซอร์ - คีย์บอร์ด - แซมเปลอ |
รูปแบบอนุพันธุ์ | Aggrotech - แอมเบียนต์อินดัสเตรียล - ดนตรีอิเล็กทรอนิกส์บอดี - อิเล็กโทรอินดัสเทรียล - Glitch - อินดัสเทรียลเมทัล - อินดัสเทรียลเพอร์คัชชัน - อินดัสเทรียลร็อก - ดนตรีอินเทลลิเจนต์แดนซ์ - Martial Industrial |
ดนตรีอินดัสเตรียล (อังกฤษ: Industrial music) เป็นแนวเพลงประเภทดนตรีทดลอง โดยมากมักหมายถึงดนตรีอิเล็กทรอนิก ที่มี��ักษณะกวนโทสะและหมิ่นเหม่ คำนี้เกิดขึ้นมาในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษ 1970 เพื่ออธิบายถึงศิลปินจากค่ายอินดัสเตรียลเรเคิดส์ เว็บไซต์ออลมิวสิก อธิบายไว้ว่า "โดยมากเป็นความโมโหและก้าวร้าวในการรวมกันของร็อกและดนตรีอีเลกโทรนิก" โดย "ในช่วงแรกจะเป็นการผสมผสานของการทดลองดนตรีอีเลกโทรนิกอาวองการ์ด (เพลงจากเทป musique concrète ไวต์นอยส์ เครื่องสังเคราะห์เสียง ซับซีเควนเซอร์) และการยั่วยุแบบพังก์"[1]
ศิลปินอินดัสเตรียลในช่วงแรกได้ทดลองใช้เสียงกับเรื่องที่หมิ่นเหม่ การทำงานไม่ได้จำกัดเฉพาะในด้านดนตรีเท่านั้น แต่อาจรวมถึงศิลปะ การแสดง การจัดวาง และรูปแบบของศิลปะในรูปแบบอื่น[2] ขณะนี้คำนี้แรกเดิมจะมีใช้เฉพาะกลุ่มเล็ก ๆ ที่เกี่ยวข้องกับค่ายเพลงอินดัสเตรียลเรเคิดส์ แต่หลังจากนั้นก็ได้ขยับขยายกว้างขวางขึ้นเป็นอิทธิพลให้วงการดนตรี หรือใช้ในแง่ทฤษฎี[3]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Industrial", Allmusic. [1] เก็บถาวร 2010-10-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Access date: May 29, 2009.
- ↑ V.Vale. Re/Search #6/7: Industrial Culture Handbook, 1983.
- ↑ "... journalists now use 'industrial' as a term like they would 'blues.' - Genesis P-Orridge, RE/Search #6/7, p. 16.