ข้ามไปเนื้อหา

คู่กรรม เดอะมิวสิคัล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คู่กรรม เดอะมิวสิคัล
ใบปิด
ดนตรีไกวัล กุลวัฒโนทัย
พลรักษ์ โอชกะ
สุธี แสงเสรีชน
คำร้องดารกา วงศ์ศิริ
ไกวัล กุลวัฒโนทัย
พลรักษ์ โอชกะ
สุธี แสงเสรีชน
หนังสือดารกา วงศ์ศิริ
อ้างอิงจากนวนิยายคู่กรรม ของทมยันตี
งานสร้าง23 ตุลาคม -16 พฤศจิกายน 2546 (24 รอบ) ที่ โรงละครกรุงเทพ กรุงเทพฯ
13-15 กุมภาพันธ์ 2547 (4 รอบ) ที่ กาดเธียเตอร์ เชียงใหม่
18-28 มีนาคม 2547 (8 รอบ) ที่ โรงละครกรุงเทพ กรุงเทพฯ
2-4 เมษายน 2547 (4 รอบ) ที่ กาดเธียเตอร์ เชียงใหม่
5-7 พฤศจิกายน 2547 (5 รอบ) ที่ โรงละครกรุงเทพ กรุงเทพฯ
24 สิงหาคม -2 กันยายน 2550 (10 รอบ) ที่ โรงละครกรุงเทพเมโทรโพลิส กรุงเทพฯ

คู่กรรม เดอะมิวสิคัล เป็นละครเพลงขนาดสององก์ของค่ายดรีมบ็อกซ์ ดัดแปลงจากนวนิยายเรื่องคู่กรรมของทมยันตีและนำเสนอในรูปแบบของละครเพลงประเภทร้องทั้งเรื่อง (sung-through musical) เปิดการแสดงครั้งแรกที่โรงละครกรุงเทพ เมื่อเดือนตุลาคม 2546 และครั้งล่าสุดที่โรงละครกรุงเทพเมโทรโพลิส เมื่อเดือนกันยายน 2550 รวมทั้งหมด 55 รอบ


งานสร้างและการตีความ

[แก้]

ทีมงาน

[แก้]

นักแสดงนำ

[แก้]

เรื่องย่อ

[แก้]

ลำดับเพลง

[แก้]

องก์หนึ่ง

  • 1. สัญญาใต้ต้นลำพู
  • 2. นี่หรือคือความรัก
  • 3. เงาแห่งสงคราม
  • 4. เรือลำนี้
  • 5. สองเกลอ
  • 6. ขโมย
  • 7. เสียงดนตรี (ภาษาญี่ปุ่น)
  • 8. ดอกมะลิ
  • 9. แค้นของสองเกลอ
  • 10. สองใจ
  • 11. ลอบฟัน
  • 12. เพลงของแม่ 1
  • 13. เลือกไม่ได้
  • 14. เสรี���ทย 1
  • 15. ปากคนยาวกว่าปากกา 1
  • 16. เสรีไทย 2
  • 17. นิทานที่แสนเศร้า
  • 18. รางรถไฟ
  • 19. เชลยสงคราม
  • 20. โครงกระดูกในตู้

องก์สอง

  • 21. หน้ากากแห่งสงคราม
  • 22. สิ่งเดียวที่ต้องการ
  • 23. กองทัพจักรพรรดิ
  • 24. ฮิเดโกะ
  • 25. ปากคนยาวกว่าปากกา 2
  • 26. เกมการเมือง
  • 27. โครงกระดูกในโลง
  • 28. อย่าใช้แค่หัวใจ
  • 29. หุ่นเชิด
  • 30. จดหมายจากวนัส
  • 31. ไม่รู้หัวใจตัวเอง
  • 32. เงาสงครามที่เปลี่ยนไป
  • 33. โครงกระดูกที่มีชีวิต
  • 34. อีกสามวันข้างหน้า
  • 35. เพลงของแม่ 2
  • 36. แด่วนัส
  • 37. นี่หรือคือคนที่เธอรัก
  • 38. สัญญาที่ขอคืน
  • 39. บทเพลงแห่งความตาย
  • 40. เงาสงครามกับคนที่หายไป
  • 41. พบกันอีกครั้งบนทางช้างเผือก
  • 42. เลือกไม่ได้ (reprise)
  • 43. บทเพลงสุดท้าย

กระแสและเสียงวิจารณ์

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]