ข้ามไปเนื้อหา

การแทรกแซงสงครามกลางเมืองรัสเซียโดยฝ่ายสัมพันธมิตร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การแทรกแซงสงครามกลางเมืองรัสเซียโดยฝ่ายสัมพันธมิตร
ส่วนหนึ่งของ สงครามกลางเมืองรัสเซีย

กองกำลังสัมพันธมิตรสวนสนามที่นครวลาดีวอสตอค
วันที่1918–1925
สถานที่
อดีตจักรวรรดิรัสเซีย, มองโกเลีย
ผล บอลเชวิคได้รับชัยชนะ
คู่สงคราม

ขบวนการขาว
 เชโกสโลวาเกีย
 สหราชอาณาจักร

 สหรัฐอเมริกา
ฝรั่งเศส
 ญี่ปุ่น
 กรีซ
 เอสโตเนีย
 เซอร์เบีย
 อิตาลี
โปแลนด์
 โรมาเนีย
 จีน
 สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย
 สาธารณรัฐตะวันออกไกล
Latvian SSR
Ukrainian SSR
Commune of Estonia
Mongolian People's Party
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

Alexander Kolchak โทษประหารชีวิต
Evgeny Miller
Mikhail Diterikhs
Grigory Semyonov
Radola Gajda
Jan Syrový
William S. Graves

George Evans Stewart
Edmund Ironside
Yui Mitsue
Ernest Broșteanu
Vladimir Lenin
Leon Trotsky
Jukums Vācietis
Sergey Kamenev
Mikhail Tukhachevsky

Fedor Raskolnikov
Joseph Stalin
Dmitry Zhloba
Pavel Dybenko
Damdin Sükhbaatar
ความสูญเสีย

 เชโกสโลวาเกีย: 4,112 killed[ต้องการอ้างอิง]
 สหรัฐอเมริกา: 279 killed[2]
 สหราชอาณาจักร:
359 killed
453 wounded
143 missing or captured[3]
 กรีซ[4]

179 killed
173 missing
46 dead from wounds or non-combat related causes
657 wounded
Unknown

1 landing craft captured by Romanians[5]

การแทรกแซงโดยฝ่ายสัมพันธมิตร เป็นการส่งกำลังทางทหารจากหลายชาติซึ่งเริ่มขึ้นในช่วงสงครามกลางเมืองรัสเซียในปี 1918 เป้าหมายที่ระบุไว้คือการช่วยเชโกสโลวักลีเจียน เพื่อรักษาความปลอดภัยของอาวุธและยุทโธปกรณ์ในรัสเซียและเพื่อกลับมาสร้างแนวรบด้านตะวันออก หลังจากรัฐบาลบอลเชวิคถอนตัวออกจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง ฝ่ายสำพันธมิตรได้สนับสนุนกองกำลังขาวต่อต้านคอมมิวนิสต์ในรัสเซีย ความพยายามของฝ่ายสัมพันธมิตรถูกขัดขวางโดยการแบ่งวัตถุประสงค์ในสงคราม, ความเบื่อหน่ายจากความขัดแย้งทั่วโลกโดยรวม และขาดการสนับสนุนในประเทศ ปัจจัยเหล่านี้พร้อมกับการอพยพเชโกสโลวักลีเจียน บังคับให้ฝ่ายสัมพันธมิตรถอนตัวออกจากรัสเซียเหนือ และไซบีเรียในปี 1920 แม้ว่ากองกำลังญี่ปุ่นจะยังครอบครองบางส่วนของไซบีเรียจนถึงปี 1922 และบางส่วนทางตอนเหนือของซาฮาลินจนถึงปี 1925[6]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Scientia Militaria, South African Journal of Military Studies, Vol 15, Nr 4, 1985, pp. 46-48. Accessed January 24, 2016.
  2. Warfare and Armed Conflicts – A Statistical Reference to Casualty and Other Figures, 1500–2000 2nd Ed. Clodfelter, Michael 2002 ISBN 978-0-7864-1204-4 pp. 384–85
  3. The Army Council. General Annual Report of the British Army 1912–1919. Parliamentary Paper 1921, XX, Cmd.1193., PartIV p. 62–72
  4. [1]
  5. Siegfried Breyer, Soviet Warship Development: 1917-1937, Conway Maritime Press, 1992, p. 98
  6. Beyer, pp. 152–53.