ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โมหะ"
หน้าตา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Heuristics (คุย | ส่วนร่วม) หน้าใหม่: {{พุทธศาสนา}} '''โมหะ''' แปลว่า ''ความหลง'' ''ความเขลา'' ''ความโง่'' หมายถึง... |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัด 6: | บรรทัด 6: | ||
'''โมหะ''' กำจัดได้ด้วย[[ปัญญา]] คือใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นประจักษ์ในสิ่งนั้นๆ |
'''โมหะ''' กำจัดได้ด้วย[[ปัญญา]] คือใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นประจักษ์ในสิ่งนั้นๆ |
||
'''โมหะ''' ในคำไทยนำมาใช้ว่า [[โมโห]] ซึ่งมีความหมายเพี้ยนไปว่าโกรธ |
'''โมหะ''' ในคำไทยนำมาใช้ว่า [[โมโห]] ซึ่งมีความหมายเพี้ยนไปว่าโกรธ |
||
---- |
|||
'''กลุ่มโมหะ''' |
|||
ธรรมฝ่ายชั่วนี้มี 4 อย่าง คือ |
|||
*'''โมหะ''' เป็นความหลง หรือธรรมชาติที่ปิดความจริงของ[[อารมณ์]] |
|||
*'''อหิริกะ''' เป็นธรรมชาติที่ไม่ละอายในการทำผิดทางกาย วาจา ใจ |
|||
*'''อโนตตัปปะ''' เป็นธรรมชาติที่ไม่กลัวเกรงต่อผลของ[[บาป]] |
|||
*'''อุทธัจจะ''' เป็นความ[[ฟุ้งซ่าน]]หรือธรรมชาติที่จับอารมณ์ไม่มั่น<ref>พระปราโมทย์ ปาโมชฺโช. '''วิมุตติมรรค.''' (กรุงเทพฯ : ธรรมดา, 2549), หน้า 24</ref> |
|||
==อ้างอิง== |
==อ้างอิง== |
||
<references /> |
|||
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548 |
|||
[[หมวดหมู่:พุทธศาสนา]] |
[[หมวดหมู่:พุทธศาสนา]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 00:06, 15 กันยายน 2550
ส่วนหนึ่งของชุดบทความ |
ศาสนาพุทธ |
---|
โมหะ แปลว่า ความหลง ความเขลา ความโง่ หมายถึงความไม่รู้ตามที่เป็นจริง เป็นกิเลสอย่างหนึ่งในบรรดากิเลสใหญ่ 3 อย่าง คือ โลภะ โทสะ โมหะ ซึ่งได้แก่อวิชชา นั่นเอง
โมหะ เกิดจากความคิดเห็นที่ผิด จากการไม่ใช้ปัญญาพิจารณาให้ประจักษ์ในเรื่องนั้นๆ ให้ถ่องแท้ถี่ถ้วนก่อน เมื่อเกิดขึ้นแล้วก็เป็นเหตุให้ไม่รู้บุญไม่รู้บาป ไม่เชื่อบุญไม่เชื่อบาป ชักนำให้ไปทำความชั่วความไม่ดีต่างๆ เช่น ประมาท ทะเลาะวิวาท แก่งแย่งชิงดี อวดดี เกียจคร้าน บ้ากาม อกตัญญู เชื่อง่าย หูเบา
โมหะ กำจัดได้ด้วยปัญญา คือใช้ปัญญาพิจารณาให้เห็นประจักษ์ในสิ่งนั้นๆ
โมหะ ในคำไทยนำมาใช้ว่า โมโห ซึ่งมีความหมายเพี้ยนไปว่าโกรธ[1]
กลุ่มโมหะ ธรรมฝ่ายชั่วนี้มี 4 อย่าง คือ
- โมหะ เป็นความหลง หรือธรรมชาติที่ปิดความจริงของอารมณ์
- อหิริกะ เป็นธรรมชาติที่ไม่ละอายในการทำผิดทางกาย วาจา ใจ
- อโนตตัปปะ เป็นธรรมชาติที่ไม่กลัวเกรงต่อผลของบาป
- อุทธัจจะ เป็นความฟุ้งซ่านหรือธรรมชาติที่จับอารมณ์ไม่มั่น[2]
อ้างอิง
- ↑ พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ ราชบัณฑิต พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด, วัดราชโอรสาราม กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
- ↑ พระปราโมทย์ ปาโมชฺโช. วิมุตติมรรค. (กรุงเทพฯ : ธรรมดา, 2549), หน้า 24