ป่า
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *paːᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨸ᩵ᩣ (ป่า), ภาษาลาว ປ່າ (ป่า), ภาษาไทลื้อ ᦔᦱᧈ (ป่า), ภาษาไทดำ ꪜ꪿ꪱ (ป่า), ภาษาไทใหญ่ ပႃႇ (ป่า), ภาษาอาหม 𑜆𑜡 (ปา), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง baq
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | ป่า | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | bpàa |
ราชบัณฑิตยสภา | pa | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /paː˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
แก้ไขป่า
- ที่ที่มีต้นไม้ต่าง ๆ ขึ้นมาก, ถ้ามีพรรณไม้ชนิดใดชนิดหนึ่งขึ้นอยู่มาก ก็เรียกตามพรรณไม้นั้น
- ป่าสัก
- ป่ารัง
- ป่าไผ่
- ป่าคา
- ป่าหญ้า
- (กฎหมาย) ที่ดินรวมตลอดถึง ภูเขา ห้วย หนอง คลอง บึง บาง ลำน้ำ ทะเลสาบ เกาะ และที่ชายทะเล ที่ยังมิได้มีบุคคลได้มาตามกฎหมาย
- เรียกปลากัดหรือปลาเข็มที่เป็นพันธุ์เดิมตามธรรมชาติ ว่า ลูกป่า
- (โบราณ) เรียกตำบลที่มีของขายอย่างเดียวกันมาก ๆ
- ป่าถ่าน
- ป่าตะกั่ว
การใช้
แก้ไขในทางกฎหมายได้นิยาม ป่า และ ป่าไม้ แตกต่างกัน
คำคุณศัพท์
แก้ไขป่า
คำกริยา
แก้ไขป่า
คำพ้องความ
แก้ไข- ดูที่ อรรถาภิธาน:ป่า
ลูกคำ
แก้ไข- กรวยป่า
- กระต่ายป่า
- กระทงป่า
- กวางป่า
- กัดป่า
- การบูรป่า
- เกี่ยวแฝกมุง���่า
- แกงป่า
- ไก่ป่า
- ขนุนป่า
- ของป่า
- ข้าวป่า
- ไข้ป่า
- คนป่า
- เงาะป่า
- ชาวป่า
- ชาวป่าชาวดอย
- เดินป่า
- ตะกั่วป่า
- ตีป่าให้เสือกลัว
- น้ำป่า
- น้ำพึ่งเรือเสือพึ่งป่า
- แนวป่า
- บ้านป่า
- บ้านป่าเมืองเถื่อน
- บุกป่าฝ่าดง
- ประตูป่า
- ปล่อยเสือเข้าป่า
- ป่าคอนกรีต
- ป่าแคระ
- ป้างป่า
- ป่าชัฏ
- ป่าช้า
- ป่าชายเลน
- ป่าชายหาด
- ป่าซาง
- ป่าดง
- ป่าดงดิบ
- ป่าดงพงพี
- ป่าดงพงไพร
- ป่าดิบ
- ป่าแดง
- ป่าแดด
- ป่าติ้ว
- ป่าเถื่อน
- ป่าทึบ
- ป่าบอน
- ป่าบึง
- ป่าเบญจพรรณ
- ป่าโปร่ง
- ป่าผลัดใบ
- ป่าพรุ
- ป่าพะยอม
- ป่าแพะ
- ป่าโมก
- ป่าไม้
- ป่าไม้พุ่ม
- ป่าระนาม
- ป่าละเมาะ
- ป่าเลน
- ป่าสงวน
- ป่าสงวนแห่งชาติ
- ป่าสูง
- ป่าเส็งเคร็ง
- ป่าใส
- ผักหวานป่า
- ผ้าป่า
- ผีบ้านไม่ดี ผีป่าก็พลอย
- ผีเรือนไม่ดี ผีป่าก็พลอย
- พิกุลป่า
- ไฟป่า
- มะกอกป่า
- แมวป่า
- ไม้ป่าค่อม
- ไม้ป่าเดียวกัน
- ระกำป่า
- ราวป่า
- ลูกป่า
- เวียงป่าเป้า
- สัตว์ป่า
- สันป่าตอง
- สุนัขป่า
- หงอนไก่ป่า
- หมาป่า
- หมูป่า
- หัวป่า
- หูป่าตาเถื่อน
- อัญชันป่า
- อาหารป่า
ภาษาคำเมือง
แก้ไขคำนาม
แก้ไขป่า
- อีกรูปหนึ่งของ ᨸ᩵ᩣ (ป่า)