เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นโชกากุ
เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นโชกากุ (อังกฤษ: Shōkaku-class aircraft carrier) เป็นชั้นของเรือบรรทุกเครื่องบินของกองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น ตั้งชื่อตามเรือบรรทุกเครื่องบินโชกากุ ที่เข้าประจำการตั้งแต่ช่วงกลางปี ค.ศ. 1941 ก่อนสงครามแปซิฟิก
โชกากุ ที่โยโกซูกะ 8 สิงหาคม 1941
| |
ภาพรวมชั้น | |
---|---|
ชื่อ: | เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นโชกากุ |
ผู้สร้าง: | |
ผู้ใช้งาน: | กองทัพเรือจักรวรรดิญี่ปุ่น |
ก่อนหน้าโดย: | Hiryū |
ตามหลังโดย: | Hiyō class |
สร้างเมื่อ: | 1938–1941 |
ในประจำการ: | 1941–1944 |
เสร็จแล้ว: | 2 |
สูญเสีย: | 2 |
ลักษณะเฉพาะ (as built) | |
ประเภท: | เรือบรรทุกเครื่องบิน |
ขนาด (ระวางขับน้ำ): | 32,105 t (31,598 long ton) (deep load) |
ความยาว: | 257.5 m (844 ft 10 in) |
ความกว้าง: | 29 m (95 ft 2 in) |
กินน้ำลึก: | 9.32 m (30 ft 7 in) (deep load) |
ความลึก: | 23 m (75 ft 6 in) |
ระบบพลังงาน: |
|
ระบบขับเคลื่อน: | 4 × shafts; 4 × Kampon geared steam turbines |
ความเร็ว: | 34.5 นอต (63.9 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 39.7 ไมล์ต่อชั่วโมง) |
พิสัยเชื้อเพลิง: | 9,700 nmi (18,000 km; 11,200 mi) at 18 นอต (33 กิโลเมตรต่อชั่วโมง; 21 ไมล์ต่อชั่วโมง) |
อัตราเต็มที่: | 1,660 |
ยุทโธปกรณ์: |
|
เกราะ: |
|
อากาศยาน: |
|
เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นโชกากุ ประกอบด้วยเรือสองลำคือ เรือบรรทุกเครื่องบินโชกากุ และ เรือบรรทุกเครื่องบินซุยกากุ[1]
เรือ
แก้ชื่อ | คันจิ | อู่ต่อเรือ | วาง��ระดูกงู | ปล่อยลงน้ำ | ประจำการ | สถานะ |
---|---|---|---|---|---|---|
โชกากุ | 翔鶴 | อู่ทหารเรือโยะโกะซุกะ | 12 ธันวาคม 1937 | 1 มิถุนายน 1939 | 8 สิงหาคม 1941 | อับปางโดยเรือดำน้ำ ยูเอสเอส คาวาลลา 19 มิถุนายน 1944 |
ซุยกากุ | 瑞鶴 | Kawasaki Kobe Shipyard | 25 พฤษภาคม 1938 | 27 พฤศจิกายน 1939 | 25 กันยายน 1941 | อัปปางในยุทธนาวีแหลมเอ็นกาโน 25 ตุลาคม 1944 |
อ้างอิง
แก้- ↑ Lengerer, p. 90
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ เรือบรรทุกเครื่องบินชั้นโชกากุ