รายการการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก

การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิก เป็นพิธีการของการวิ่งเพลิงโอลิมปิกจากเมืองโอลิมเปีย, ประเทศกรีซ ไปยังสถานที่จัดกีฬาโอลิมปิก ในครั้งนั้นๆ โดยครั้งแรกได้เริ่มในโอลิมปิกเบอร์ลิน 1936[1] และต่อจากนั้นก็ได้มีการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกในทุก ๆ ครั้ง

โอลิมปิกครั้งก่อน ๆ ได้มีการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกในหลายประเทศ แต่ในปัจจุบันคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ได้จำกัดให้วิ่งคบเพลิงภายในประเทศ หลังเกิดการประท้วงใน การวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกฤดูร้อน 2008[2]

โอลิมปิกฤดูร้อน

แก้
เมืองเจ้าภาพ วัน ระยะทาง (กิโลเมตร) นักวิ่งคบเพลิง (คน) เส้นทาง
  เบอร์ลิน 1936 8 3,422 3,422
 
กระถางคบเพลิง ณ กรุงเบอร์ลิน
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์เทสซาโลนีกี) –   โซเฟีย  เบลเกรด  บูดาเปสต์  เวียนนา  ปราก

สายในประเทศ

  (เดรสเดินเบอร์ลิน[3])

 /  ยกเลิก
  ยกเลิก
  ลอนดอน 1948 13 7,870 3,372
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเกาะคอร์ฟู) –   (บารีมิลาน) –   (โลซานเจนีวา) –   (เบอซ็องซงเม็ตซ์) –   ลักเซมเบิร์ก  บรัสเซลส์  (ลีลกาแล)

สายในประเทศ

  (โดเวอร์ลอนดอน)

  เฮลซิงกิ 1952 5 3,365 1,416
 
การวิ่งคบเพลิง ณ ประเทศกรีซ
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์) –   (ออลบอร์โอเดนเซโคเปนเฮเกน) –   (มัลเมอกอเทนเบิร์กสต็อกโฮล์ม)

สายในประเทศ

  (ทอร์นีโอโอวลุเฮลซิงกิ)

  เมลเบิร์น 1956 21 20,470 3,118
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (ดาร์วินบริสเบนซิดนีย์แคนเบอร์ราเมลเบิร์น)

  สต็อกโฮล์ม 1956
(กีฬาขี่ม้า)
9 1,000 490
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์) –   โคเปนเฮเกน

สายในประเทศ

  (มัลเมอสต็อกโฮล์ม)

  โรม 1960 14 2,750 1,529
 
การวิ่งคบเพลิงในพิธีเปิด
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (ซีรากูซากาตาเนียเมสซีนาเรจโจคาลาเบรียเนเปิลส์โรม)

  โตเกียว 1964 51 20,065 870
 
การวิ่งคบเพลิง ณ นครนะฮะ
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์) –   อิสตันบูล  เบรุต  เตหะราน  ลาฮอร์  นิวเดลี –   ย่างกุ้ง  กรุงเทพมหานคร  กัวลาลัมเปอร์  มะนิลา  ฮ่องกง  ไทเป

สายในประเทศ

  (เกาะโอะกินะวะโตเกียว)

  เม็กซิโกซิตี 1968 51 13,620 2,778
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์) –   (เจนัวบาร์เซโลนามาดริดเซบิยาปาลอสลาส พัลมาส) –   เกาะซาน ซาลวาดอร์

สายในประเทศ

  (เบรากรุซเม็กซิโกซิตี)

  มิวนิก 1972 30 5,532 6,000
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์เทสซาโลนีกี) –   อิสตันบูล  วาร์นา  (บูคาเรสต์ทิมิโซอารา) –   เบลเกรด  บูดาเปสต์  (เวียนนาลินซ์ซาลซ์บูร์กอินส์บรุค)

สายในประเทศ

  (การ์มิช-พาร์เทนเคียร์เชินมิวนิก)

  มอนทรีออล 1976 5 775 1,214
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (ออตตาวามอนทรีออล)

  มอสโก 1980 31 4,915 5,000
 
การจุดคบเพลิงในพิธีเปิด
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์เทสซาโลนีกี) –   โซเฟีย  บูคาเรสต์

สายในประเทศ

  (คีชีเนาเคียฟตูลามอสโก)

  ลอสแอนเจลิส 1984 83 15,000 3,636
 
การวิ่งคบเพลิง ณ นครลอสแอนเจลิส
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (นครนิวยอร์กบอสตันฟิลาเดลเฟียวอชิงตัน ดี.ซี.ดีทรอยต์ชิคาโกอินเดียแนโพลิสแอตแลนตาเซนต์หลุยส์แดลลัสเดนเวอร์ซอลต์เลกซิตีซีแอตเทิลซานฟรานซิสโกแซนดีเอโกลอสแอนเจลิส)

  โซล 1988 26 15,250 1,467
 
การจุดคบเพลิงในพิธีเปิด
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (เชจูปูซานโซล)

  บาร์เซโลนา 1992 51 6,307 10,448
 
การวิ่งคบเพลิง ณ เมืองบาร์เซโลนา
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (เอมปูเรียสบิลบาโออาโกรุญญามาดริดเซบิยาลาส พัลมาสมาลากาบาเลนเซียปัลมาบาร์เซโลนา)

  แอตแลนตา 1996 112 29,016 13,267
 
การวิ่งคบเพลิง ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี.
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (ลอสแอนเจลิสลาสเวกัสซานฟรานซิสโกซีแอตเทิลซอลต์เลกซิตีเดนเวอร์แดลลัสเซนต์หลุยส์มินนีแอโพลิสชิคาโกดีทรอยต์บอสตันนครนิวยอร์กฟิลาเดลเฟียวอชิงตัน ดี.ซี.ไมแอมีเบอร์มิงแฮมแอตแลนตา)

  ซิดนีย์ 2000 127 27,000 13,300
 
การวิ่งคบเพลิง ณ รัฐนิวเซาท์เวลส์
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์) –   กวม  ปาเลา  ไมโครนีเชีย  นาอูรู  หมู่เกาะโซโลมอน  ปาปัวนิวกินี  วานูวาตู  ซามัว  อเมริกันซามัว  หมู่เกาะคุก  ตองงา  (ควีนส์ทาวน์ไครสต์เชิร์ชเวลลิงตันโรโตรัวออกแลนด์)

สายในประเทศ

  (โขดหินอุลูรูบริสเบนดาร์วินเพิร์ทแอดิเลดเมลเบิร์นแคนเบอร์ราซิดนีย์)

  เอเธนส์ 2004 142 86,000 11,360
 
การวิ่งคบเพลิง ณ กรุงบรัสเซลส์
สายในประเทศ (รอบจุดเพลิง)

  (โอลิมเปียมาราธอนเอเธนส์)

สายต่างประเทศ

  ซิดนีย์เมลเบิร์น  โตเกียว  โซล  ปักกิ่ง  เดลี  ไคโร  เคปทาวน์  รีโอเดจาเนโร  เม็กซิโกซิตี  (ลอสแอนเจลิสเซนต์หลุยส์แอตแลนตานครนิวยอร์ก) –   มอนทรีออล  (แอนต์เวิร์ปบรัสเซลส์) –   อัมสเตอร์ดัม  (โลซานเจนีวา) –   ปารีส  ลอนดอน  (มาดริดบาร์เซโลนา) –   โรม  (มิวนิกเบอร์ลิน) –   สต็อกโฮล์ม  เฮลซิงกิ  มอสโก  เคียฟ  อิสตันบูล  โซเฟีย  นิโคเซีย

สายในประเทศ

  (ฮีราคลีออนเทสซาโลนีกีปาทรัสเอเธนส์)

  ปักกิ่ง 2008 130 137,000 21,880
 
การวิ่งคบเพลิง ณ กรุงลอนดอน
สายต่างประเทศ

1.   (โอลิมเปียมาราธอนเอเธนส์) –   (1)
2.   อัลมาเตอ  อิสตันบูล  เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก  ลอนดอน  ปารีส  ลอสแอนเจลิส  บัวโนสไอเรส  ดาร์-เอส-ซาลาม  มัสกัต  อิสลามาบาด  มุมไบ  กรุงเทพมหานคร  กัวลาลัมเปอร์  จาการ์ตา  แคนเบอร์รา  นางาโนะ  โซล  เปียงยาง  นครโฮจิมินห์  ฮ่องกง  มาเก๊า  (2)

สายในประเทศ

1.   ปักกิ่ง
2.   (ซานย่าอู๋ซิฉานว่านหนิงไหโข่วกว่างโจวเซินเจิ้นฮุ่ยโจวซัวเถาฝูโจวเฉวียนโจวเซี่ยเหมินหลงยานหรุ้ยจินจิ่งกังซานหนานชางเวินโจวหนิงปัวหางโจวเฉาซิงเจียเซียงเซี่ยงไฮ้ซูโจวหนานทงไท่โจวหยางโจวหนานจิงเหอเฝย์หวยหนานอู๋หูจี้ซีเขาหวงอู่ฮั่นอี้ชางจิ่นโจวเยฺว่หยางฉางชาเฉาชานกุ้ยหลินหนานหนิงไป๋เซอคุนหมิงลี่เจียงแชงกรี-ลากุ้ยหยางไคลีจุนอี้ฉงชิ่งกวงอานเหมียนหยางกวงอานลาซาโกลมุดชิงไห่ซีหนิงอุรุมชีคาสการ์ซือเหอจือฉางจือตุนหวงเจี่ยยู่กวนจิ่วฉวนเทียนฉุ่ยหลานโจวจงเหว่ยอู๋จงอิ๋นชวนเหยียนอันหยางหลิงเสียนหยางซีอานยฺวิ่นเฉิงผิงเหยาไท่หยวนต้าถงฮูฮอตออดอสบาวตูฉีเฟิ่งฉีฉีฮาร์ต้าชิ่งฮาร์บินซ่งหยวนฉางชุนจี๋หลินหยานจี๋เฉิ่นหยางเปินซีเหลียวหยางอันชานต้าเหลียนเยียนไถเวยไห่ชิงเต่าหรีเจ้าหลินอี้กูฟูไทอันจี่หนานซางฉิวไคเฟิงเจิ้งโจวลกเอี๋ยงอันหยางฉือเจียจวงฉินฮวงเต่าฉินฮวงเต่าเทียนจินเล่อซานจือกงยีบินเฉิงตูปักกิ่ง)

  ลอนดอน 2012 70 12,800 8,000
 
การวิ่งคบเพลิง ณ มณฑลแลงคาเชอร์
สายต่างประเทศ

1.  (โอลิมเปียฮีราคลีออนโยอานนีนาเทสซาโลนีกีเอเธนส์) –   (1)
2.   ดักลาส  (2)
3.   ดับลิน  (3)
4.   เซนต์ปีเตอร์พอร์ต  เซนต์เฮลิเยอร์  (4)

สายในประเทศ

1.   (แลนด์สเอ็นด์ - พลิมัททอร์ควีย์เอ็กซิเตอร์บาร์นสเทเพิลทวนทันแกลสทันเบอร์รีบาธบริสตอลกลอสเตอร์วุร์สเตอร์คาร์ดิฟฟ์สวอนซีอเบอริธวิธบังกอร์เชสเตอร์มัชเวนล็อกสโตก-ออน-เทรนต์ลิเวอร์พูล) –  
2.   (เบลฟาสต์เดอร์รี่นิวรี) –  
3.   (เบลฟาสต์ - สแตรนแรร์กลาสโกว์อินเวอร์เนสส์เคิร์กวอลล์เลอร์วิคสตอร์โนเวย์อินเวอร์เนสส์แอเบอร์ดีนดันดีเซนต์แอนดรูส์สเตอร์ลิงเอดินบะระนิวคาสเซิลอะพอนไทน์คิงส์ตันอะพอนฮัลล์ยอร์กคาร์ไลล์ดัมฟรายส์แบล็กพูลแมนเชสเตอร์ลีดส์เชฟฟีลด์นอตทิงแฮมดาร์บีเบอร์มิงแฮมสแตรทฟอร์ดริมแม่น้ำเอวอนรักบี้คอเวนทรีนอริชอิปสวิชเคมบริดจ์สโตก แมนด์วิลล์ออกซฟอร์ดวินด์เซอร์แอสคอทเรดิงวินเชสเตอร์ซอลส์บรีชาฟต์บิวรีบอร์นมัธเซาแทมป์ตัน) –  
4.   (พอร์ตสมัทชิชิสเตอร์ไบรตันเฮสติงส์โดเวอร์ - แคนเทอร์เบอรีเมดสโตนลอนดอน)

  รีโอเดจาเนโร 2016 106 20,000 12,000
 
การวิ่งคบเพลิง ณ กรุงบราซิเลีย ถือโดยวังแดร์เลย์ โกร์เดย์รู จี ลีมา
สายต่างประเทศ

  ('โอลิมเปีย'ไพกรอสอมาเลียดาเลไคนาเกาะซาคินทอสปาทรัสมิสโซลองกิอัสทากอสเกาะเลฟคาด้านิคาโปลิสเพรียฟเซอิกูแมนิทซาเกาะคอร์ฟู - โยอานนีนาเวเรียเทสซาโลนีกีเซอเรสดรามาคาวาลาอเล็กซานโดรโพลิสโคโมตินิซานติเคเทอรินีลาริสซาคัลซีสมาราธอนเอเธนส์) –   (โลซานเจนีวา)

สายในประเทศ

  (บราซีเลียโกยาเนียเบโลโอรีซอนชีวิตอเรียซัลวาดอร์อารากาจูมาเซโอเรซีฟีโจเอาเปสโซอานาตาลเฟร์นันดูจีนอโรนยาโฟร์ตาเลซาปาลมัสเซาลูอีสเบเลงมากาปามาเนาส์รีอูบรังกูโปร์ตูเวลยูกังปูกรังจ��โฟซ โด อีกัวสุปอร์โตอเลเกรโฟลเรียนอโปลิสบลูเมเนากูรีตีบาซังตูสเซาเปาลูรีโอเดจาเนโร)

โอลิมปิกฤดูหนาว

แก้
เมืองเจ้าภาพ วัน ระยะทาง (กิโลเมตร) นักวิ่งคบเพลิง (คน) เส้นทาง
  ออสโล 1952 2 225 94
สายในประเทศ

  (มอร์เกดอลออสโล)

  กอร์ตีนาดัมเปซโซ 1956 5
สายในประเทศ

  (โรมเวนิสกอร์ตีนาดัมเปซโซ)

  สควอว์วัลเลย์ 1960 19 960 700
สายต่างประเทศ

  (มอร์เกดอลออสโล)

สายในประเทศ

  (ลอสแอนเจลิสเฟรสโนสควอว์วัลเลย์)

  อินส์บรุค 1964 8
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (เวียนนาอินส์บรุค)

  เกรอนอบล์ 1968 50 7,222 5,000
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (ปารีสสทราซบูร์ลียงบอร์โดตูลูซมาร์แซย์นีซชามอนีเกรอนอบล์)

  ซัปโปะโระ 1972 38 18,741 16,300
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (โอะกินะวะโตเกียวซัปโปะโระ)

  อินส์บรุค 1976 6 1,618
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์) –   (1)(2)

สายในประเทศ

1.   (เวียนนาลินซ์ซาลซ์บูร์กอินส์บรุค)
2.   (กราซคลาเกินฟวร์ทอินส์บรุค)

  เลคพลาซิด 1980 15 12,824 52
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์) –   แชนนอน

สายในประเทศ

  (ทานทัพอากาศแลงลีย์, แฮมป์ตันวอชิงตัน ดี.ซี.บอลทิมอร์ฟิลาเดลเฟียนครนิวยอร์กออลบานีเลคพลาซิด)

  ซาราเยโว 1984 11 5,289 1,600
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  ดูโบรฟนิก  (1)(2)
1.   (สปลิตลูบลิยานาซาเกร็บซาราเยโว)
2.   (สโกเปียนอวีซาดเบลเกรดซาราเยโว)

  แคลกะรี 1988 95 18,000 6,250
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (เซนต์จอห์นส์นครควิเบกมอนทรีออลออตตาวาโทรอนโตวินนิเพ็กอินูวิกแวนคูเวอร์เอ็ดมันตันแคลกะรี)

  แอลเบอร์วีลล์ 1992 58 5,500 5,500
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (ปารีสน็องต์เลออาฟวร์ลีลสทราซบูร์ลิโมชบอร์โดตูลูซอาฌักซีโยนีซมาร์แซย์ลียงเกรอนอบล์แอลเบอร์วีลล์)

  ลิลเลฮัมเมร์ 1994 82[nb 1] 12,000[nb 1] 7,000[nb 1]
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์) –   (แฟรงก์เฟิร์ตชตุทท์การ์ทคาร์ลสรูเออดึสเซิลดอร์ฟโคโลญฮัมบวร์ค) –   โคเปนเฮเกน  สต็อกโฮล์ม

สายในประเทศ

  (ออสโลลิลเลฮัมเมร์)
(เพลิงจากมอร์เกดอล: มอร์เกดอลคริสเตียนซานสตาวังเงร์แบร์เกนทรอนด์เฮมทรุมเซอสฟาลบาร์ทรุมเซอโบโดออสโลลิลเลฮัมเมร์)[nb 1][4][5][6]

  นะงะโนะ 1998 51 3,486 6,901
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  โตเกียว  (1)(2)(3) 1.   (ฮกไกโดชิบะโตเกียวนะงะโนะ)
2.   (โอะกินะวะฮิโระชิมะเคียวโตะนะงะโนะ)
3.   (คะโงะชิมะโอซะกะชิซุโอะกะนะงะโนะ)

  ซอลต์เลกซิตี 2002 85 21,275 12,012
 
การวิ่งคบเพลิง ณ เมืองโพรโว
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (แอตแลนตาชาร์ลสตันแจ็กสันวิลล์เซนต์ออกัสตินออร์แลนโดไมแอมีโมบายไบล็อกซีนิวออร์ลีนส์ฮิวสตันแซนแอนโทนีโอออสตินแดลลัสลิตเทิลร็อกเมมฟิสแนชวิลล์ลุยส์วิลล์ซินซินแนติพิตต์สเบิร์กคัมเบอร์แลนด์วอชิงตัน ดี.ซี. – บอลทิมอร์ฟิลาเดลเฟียนครนิวยอร์ก - ฮาร์ตฟอร์ดพรอวิเดนซ์บอสตันเบอร์ลิงตันเลคพลาซิดซีราคิวส์คลีฟแลนด์โคลัมบัสชิคาโกมิลวอกีดีทรอยต์ฟอร์ตเวนอินเดียแนโพลิสเลกซิงตันเซนต์หลุยส์แคนซัสซิตีโอมาฮาวิชิทอโอคลาโฮมาซิตีอามาริลโลแอลบูเคอร์คีฟีนิกซ์ลอสแอนเจลิสซานฟรานซิสโกสควอว์วัลเลย์สปาร์คส์พอร์ตแลนด์ซีแอตเทิลจูโนบอยซีโบซแมนไชเอนน์เดนเวอร์ซอลต์เลกซิตี[7])

  ตูริน 2006 75 11,300 10,000
สายต่างประเทศ

1.   (โอลิมเปียเอเธนส์) –   (1)
2.   วัลเลตตา  (2)
3.   ซานมารีโน  (3)
4.   โคเพอร์  คลาเกินฟวร์ท  (4)
5.   ลูกาโน  (5)
6.   แอลเบอร์วีลล์  (6)

สายในประเทศ

1.   (โรมฟลอเรนซ์เจนัวคัลยารี) –  
2.   (ปาแลร์โมเนเปิลส์บารีแอนโคนา) –  
3.   (โบโลญญาเวนิสตรีเยสเต) –  
4.   (เทรนโตกอร์ตีนาดัมเปซโซมิลาน) –  
5.   บาโดเนเคีย 
6.   ตูริน

  แวนคูเวอร์ 2010 106 45,000+ 12,000+
 
การวิ่งคบเพลิง ณ เมืองมองก์ตัน
สายต่างประเทศ

1.   (โอลิมเปียเอเธนส์) –   (1)
2.   รัฐวอชิงตัน  (2)

สายในประเทศ

1.   (วิกตอเรียยูคอนนอร์ทเวสต์เทร์ริทอรีส์รัฐแอลเบอร์ตารัฐซัสแคตเชวันรัฐแมนิโทบานูนาวุตรัฐควิเบก �� รัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์รัฐโนวาสโกเชียรัฐพรินซ์เอ็ดเวิร์ดไอแลนด์รัฐนิวบรันสวิกรัฐควิเบกรัฐออนแทรีโอรัฐแมนิโทบารัฐซัสแคตเชวันรัฐแอลเบอร์ตา) –  
2.   แวนคูเวอร์[8]

  โซชี 2014 123 65,000
 
การวิ่งคบเพลิง ณ เมืองซามารา
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (มอสโกโคลอมนาโอดินต์โซโวพระราชวังอาร์คานเจลสเกอคราสโนกรอสค์ดมิตรอฟเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กคาลินินกราดเมอร์มานสค์อาคันเกลสค์ยาคุตสค์วลาดีวอสตอคอีร์คุตสค์โนโวซีบีสค์คาซานนิจนีนอฟโกรอดวอลโกกราดรอสตอฟ ออนดอนแอสตราคันกรอซนีโซชี)

  พย็องชัง 2018 - - -
 
การวิ่งคบเพลิง ณ เมืองพาจู
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (อินช็อนเชจูปูซานอุลซันเกียวเชทงยองชางวอนซาชอน (จังหวัดคย็องซังใต้)ยอซูซุนชอนมกโพ(จังหวัดช็อลลาใต้)ช็อนจู (จังหวัดช็อลลาเหนือ)(จังหวัดชุงช็องใต้)แทจ็อนเซจงชุงจูดันยาง (จังหวัดชุงช็องเหนือ)อันดง (จังหวัดคย็องซังเหนือ)แทกูโพฮัง (จังหวัดคย็องซังเหนือ)ซูว็อน (จังหวัดคย็องกี)โซลพาจูย็อนช็อน (จังหวัดคย็องกี)ซัมโชกจองซอนพย็องชัง (จังหวัดคังว็อน))

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 ในการวิ่งคบเพลิงโอลิมปิกฤดูหนาว 1994 ได้แบ่งเป็น 2 สาย สายแรกคือสายที่วิ่งภายในประเทศ ซึ่งเพลิงของสายนี้ได้ถูกจุดที่เมืองมอร์เกดอล ซึ่งเป็นสถานที่จุดเพลิงของโอลิมปิกฤดูหนาว 2 สมัย และส่วนที่ 2 คือ สายที่ใช้เพลิงจากเมืองโอลิมเปีย ซึ่งคณะกรรมการจัดการแข่งขันได้วางแผนให้รวมทั้ง 2 เพลิง เป็นเพลิงเดียวกัน แต่ถูกระงับจากการประท้วงของทางการกรีซ ทำให้พิธีเปิดได้ใช้แค่เพลิงจากเมืองโอลิมเปีย ส่วนเพลิงจากเมืองมอร์เกดอลได้ใช้ในพาราลิมปิกฤดูหนาวแทน

โอลิมปิกเยาวชนฤดูร้อน

แก้
เมืองเจ้าภาพ วัน ระยะทาง (กิโลเมตร) นักวิ่งคบเพลิง (คน) เส้นทาง
  สิง���โปร์ 2010 22 26,700+ 2,400+
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์) –   เบอร์ลิน  ดาการ์  เม็กซิโกซิตี  ออกแลนด์  โซล

สายในประเทศ

  สิงคโปร์

  หนานจิง 2014 108 104
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์) – ออนไลน์

สายในประเทศ

  หนานจิง

โอลิมปิกเยาวชนฤดูหนาว

แก้
เมืองเจ้าภาพ วัน ระยะทาง (กิโลเมตร) นักวิ่งคบเพลิง (คน) เส้นทาง
  อินส์บรุค 2012 18 3,573 2,012
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (อินส์บรุคเบรเกนซ์เซนต์แอนทอนและอาร์ลเบิร์กลีนซ์คลาเกินฟวร์ทเซอร์เมอร์ริงเวียนนากราซไอเซนชตัดท์ซังคท์เพิลเทินลินซ์ซาลซ์บูร์กสคลาดมิงอินส์บรุค)

  ลิลเลฮัมเมร์ 2016 74 - -
สายต่างประเทศ

  (โอลิมเปียเอเธนส์)

สายในประเทศ

  (ลิลเลฮัมเมร์ออสโลลิลเลฮัมเมร์)

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. Bowlby, Chris. "The Olympic torch's shadowy past", BBC News, 2008-03-05. Retrieved on 2009-10-21.
  2. Zinser, Lynn (March 27, 2009). "I.O.C. Bars International Torch Relays". The New York Times. สืบค้นเมื่อ August 3, 2012.
  3. Official Report of the เบอร์ลิน 1936 Olympiad
  4. "Archived copy". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-06. สืบค้นเมื่อ 2011-07-19.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  5. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-20. สืบค้นเมื่อ 2018-03-30.
  6. "Archived copy" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2010-12-02. สืบค้นเมื่อ 2010-12-10.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  7. "2002 Olympic Torch Relay Route". PR Newswire. สืบค้นเมื่อ 24 November 2008.
  8. "Provincial and territorial routes[ลิงก์เสีย]", แวนคูเวอร์ 2010 official site, listing the exact stops on the tour.