รัฐประหารในประเทศกินี-บิสเซา พ.ศ. 2555

วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2555 หลังการเลือกตั้งประธานาธิบดีรอบแรก กองทัพส่วนหนึ่งก่อรัฐประหารในประเทศกินี-บิสเซา ก่อนการเลือกตั้งรอบสองระหว่างคาร์ลอส โกเมซ จูเนียร์ (Carlos Gomes Júnior) และกุมบา ยาลา (Kumba Ialá) เกินสองสัปดาห์เล็กน้อย[3] วันที่ 15 เมษายน มีการบรรลุข้อตกลงในการจัดตั้งสภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ ซึ่งประกอบด้วยพรรคการเมืองฝ่ายค้านและทหาร

รัฐประหารในประเทศกินี-บิสเซา พ.ศ. 2555
วันที่12 เมษายน 2555
สถานที่11°51′N 15°34′W / 11.850°N 15.567°W / 11.850; -15.567
ผล
  • ทหารยึดครองบิสเซา
  • ทหารควบคุมสื่อของรัฐ
  • จับกุมผู้สมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดี Carlos Gomes Júnior และประธานาธิบดีชั่วคราว Raimundo Pereira
  • ยุบสถาบันของรัฐ
  • ล้มเลิกการเลือกตั้ง
  • แต่งตั้งรัฐบาลเฉพาะกาลที่นำโดย Manuel Serifo Nhamadjo หลังประชุมกับนายกรัฐมนตรีรักษาการ Rui Duarte de Barros
คู่สงคราม
กินี-บิสเซา ฝ่ายบริหารพลเรือน (รวม ฝ่ายเลือกตั้ง)
ประชาสังคม
กินี-บิสเซา ตำรวจ
กินี-บิสเซา PAIGC
แองโกลา กองทัพแองโกลา
กินี-บิสเซา กองบัญชาการทหาร
กินี-บิสเซา สภาถ่ายโอนอำนาจแห่งชาติ
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ
กินี-บิสเซา Raimundo Pereira
กินี-บิสเซา Adiato Djaló Nandigna
กินี-บิสเซา Carlos Gomes Júnior
กินี-บิสเซา Mohamed Ialá Embaló
กินี-บิสเซา Tcham Na Man
แองโกลา Cândido Pereira dos Santos Van-Dúnem
กำลัง
สูงถึง 200 นาย (กองทัพแองโกลา)[1] กองทัพบกมากกว่า 50%
(ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกทหารชาวบาลันตา)[2]

อ้างอิง

แก้
  1. Adam Nossiter (13 April 2012). "Guinea-Bissau Coup Removes Presidential Front-Runner". The New York Times.
  2. Alberto Dabo (13 April 2012). "Bissau soldiers control capital in apparent coup". Reuters. สืบค้นเมื่อ 15 April 2012.
  3. "Military: Guinea-Bissau prime minister arrested". Yahoo!. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 September 2012. สืบค้นเมื่อ 17 September 2012.

11°51′N 15°34′W / 11.850°N 15.567°W / 11.850; -15.567