ประเทศกินี-บิสเซา

กินี-บิสเซา[5] (อังกฤษ: Guinea-Bissau) หรือ กีแน-บีเซา[5] (โปรตุเกส: Guiné-Bissau, ออกเสียง: [ɡiˈnɛ βiˈsaw]; ฟูลา: 𞤘𞤭𞤲𞤫 𞤄𞤭𞤧𞤢𞥄𞤱𞤮 Gine-Bisaawo; มันดินกา: ߖߌߣߍ ߺ ߓߌߛߊߥߏ߫ Gine-Bisawo) มีชื่อทางการว่า สาธารณรัฐกินี-บิสเซา (อังกฤษ: Republic of Guinea-Bissau) หรือ สาธารณรัฐกีแน-บีเซา (โปรตุเกส: República da Guiné-Bissau) เป็นประเทศอยู่ในแอฟริกาตะวันตก เมืองหลวงชื่อว่าบิสเซา มีเนื้อที่โดยประมาณ 36,125 ตารางกิโลเมตร (13,948 ตารางไมล์) กับประชากรโดยประมาณ 1,815,698[6] มีพรมแดนทิศเหนือติดกับเซเนกัล ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับกินี[7] ทิศตะวันตกติดกับมหาสมุทรแอตแลนติก กินี-บิสเซายังมีเกาะเล็ก ๆ นอกแผ่นดินใหญ่อีกประมาณ 25 เกาะอีกด้วย

สาธารณรัฐกินี-บิสเซา

República da Guiné-Bissau (โปรตุเกส)
ตราแผ่นดินของกินี-บิสเซา
ตราแผ่นดิน
คำขวัญ"เอกภาพ การต่อสู้ ความก้าวหน้า"
(โปรตุเกส: Unidade, Luta, Progresso)
ที่ตั้งของ ประเทศกินี-บิสเซา  (น้ำเงินเข้ม) – ในแอฟริกา  (น้ำเงินอ่อน & เทาเข้ม) – ในสหภาพแอฟริกา  (น้ำเงินอ่อน)
ที่ตั้งของ ประเทศกินี-บิสเซา  (น้ำเงินเข้ม)

– ในแอฟริกา  (น้ำเงินอ่อน & เทาเข้ม)
– ในสหภาพแอฟริกา  (น้ำเงินอ่อน)

เมืองหลวง
และเมืองใหญ่สุด
บิสเซา
11°52′N 15°36′W / 11.867°N 15.600°W / 11.867; -15.600
ภาษาราชการโปรตุเกส
ภาษาพูด
กลุ่มชาติพันธุ์
ศาสนา
การปกครองรัฐเดี่ยว สาธารณรัฐกึ่งประธานาธิบดี
Umaro Sissoco Embaló
Rui Duarte de Barros
สภานิติบัญญัติสมัชชาแห่งชาติ
เป็นเอกราชจากโปรตุเกส
• ประกาศ
24 กันยายน ค.ศ. 1973
• ได้รับการยอมรับ
10 กันยายน ค.ศ. 1974
พื้นที่
• รวม
36,125 ตารางกิโลเมตร (13,948 ตารางไมล์) (อันดับที่ 134)
22.4
ประชากร
• พ.ศ. 2560 ประมาณ
1,726,000 (อันดับที่ 148)
46.9 ต่อตารางกิโลเมตร (121.5 ต่อตารางไมล์) (อันดับที่ 154)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2018 (ประมาณ)
• รวม
3.391 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[2]
1,951 ดอลลาร์สหรัฐ[2]
จีดีพี (ราคาตลาด) 2018 (ประมาณ)
• รวม
1.480 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ[2]
851 ดอลลาร์สหรัฐ[2]
จีนี (2010)Negative increase 50.7[3]
สูง
เอชดีไอ (2019)เพิ่มขึ้น 0.480[4]
ต่ำ · อันดับที่ 175
สกุลเงินฟรังก์ซีเอฟเอ (XOF)
เขตเวลาUTC (เวลามาตรฐานกรีนิช)
ขับรถด้านขวา
รหัสโทรศัพท์+245
รหัส ISO 3166GW
โดเมนบนสุด.gw

ประวัติศาสตร์

แก้

กินี-บิสเซาเคยเป็นอาณานิคมของโปรตุเกสอยู่นานถึง 5 ศตวรรษ จากนั้นความตื่นตัวทางการเมืองเพื่อเรียกร้องเอกราชคืนจากโปรตุเกสได้เริ่มต้นมาตั้งแต่ พ.ศ. 2499 โดยกลุ่ม African Party for the Independence of Guinea-Bissau and the Islands of Cape Verde (PAIGC) โดยมีนายอามิลการ์ กาบราล เป็นผู้นำชักชวนให้ประชาชนต่อต้านการปกครองและเรียกร้องเอกราชคืนจากโป���ตุเกสตั้งแต่ปี พ.ศ. 2506 จนได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2517 โดยมีนายลูอีซ กาบราล พี่ชายของนายอามิลการ์เป็นประธานาธิบดีคนแรก และกลุ่ม PAIGC ได้กลายเป็นพรรคการเมืองที่ถูกต้องตามกฎหมาย และมีการจัดตั้งสภาประชาชน และสภาคณะปฏิวัติประกอบด้วยสมาชิก 11 คน ทำหน้าที่ปกครองประเทศภายใต้รัฐธรรมนูญ

อ้างอิง

แก้
  1. "Guinea Bissau". The World Factbook. Central Intelligence Agency. สืบค้นเมื่อ 14 June 2021.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 "Guinea-Bissau". International Monetary Fund. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 November 2018. สืบค้นเมื่อ 18 October 2018.
  3. "Gini Index coefficient". CIA World Factbook. สืบค้นเมื่อ 20 August 2021.
  4. Human Development Report 2020 The Next Frontier: Human Development and the Anthropocene (PDF). United Nations Development Programme. 15 December 2020. pp. 343–346. ISBN 978-92-1-126442-5. สืบค้นเมื่อ 16 December 2020.
  5. 5.0 5.1 "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
  6. "การประเมินประชากรโลก พ.ศ. 2560". ESA.UN.org (custom data acquired via website). United Nations Department of Economic and Social Affairs, Population Division. สืบค้นเมื่อ 10 September 2017.
  7. "Overview". World Bank (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 26 January 2021.

  บทความนี้รวมเอางานสาธารณสมบัติจากเดอะเวิลด์แฟกต์บุ๊ก


อ่านเพิ่ม

แก้
  • Abdel Malek, K.,"Le processus d'accès à l'indépendance de la Guinée-Bissau", In : Bulletin de l'Association des Anciens Elèves de l'Institut National de Langues et de Cultures Orientales, N°1, Avril 1998. – pp. 53–60
  • Forrest, Joshua B., Lineages of State Fragility. Rural Civil Society in Guinea-Bissau (Ohio University Press/James Currey Ltd., 2003)
  • Galli, Rosemary E, Guinea Bissau: Politics, Economics and Society, (Pinter Pub Ltd., 1987)
  • Lobban Jr., Richard Andrew and Mendy, Peter Karibe, Historical Dictionary of the Republic of Guinea-Bissau, third edition (Scarecrow Press, 1997)
  • Vigh, Henrik, Navigating Terrains of War: Youth And Soldiering in Guinea-Bissau, (Berghahn Books, 2006)

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้

รัฐบาล

การค้า

สื่อข่าว

การท่องเที่ยว

สุขภาพ

ข้อมูล GIS

12°N 15°W / 12°N 15°W / 12; -15