มาเลฟฮังกาเรียนแอร์ไลน์
มาเลฟฮังกาเรียนแอร์ไลน์ (ฮังการี: Malév) เป็นอดีตสายการบินประจำชาติฮังการี และยังเป็นสมาชิกของพันธมิตรสายการบินวันเวิลด์ โดยคำว่า มาเลฟ (Malév) ย่อมาจากภาษาฮังการีที่ว่า Magyar Légiközlekedési Vállalat
| |||||||
ก่อตั้ง | 29 มีนาคม ค.ศ. 1946 (78 ปี) (ในชื่อ บริษัทร่วมทุนฮังการี-โซเวียตซิวิลแอร์ทรานสปอร์ต) | ||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|
เริ่มดำเนินงาน | 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1954 (70 ปี) | ||||||
เลิกดำเนินงาน | 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2012 (12 ปี)[1] | ||||||
ท่าหลัก | ท่าอากาศยานานาชาติบูดาเปสต์ | ||||||
สะสมไมล์ | ดูนาคลับ | ||||||
พันธมิตรการบิน | วันเวิลด์ (ค.ศ. 2007–2012) | ||||||
บริษัทลูก | มาเลฟเอกซ์เพรส | ||||||
ขนาดฝูงบิน | 22 | ||||||
จุดหมาย | 50 | ||||||
สำนักงานใหญ่ | บูดาเปสต์ ประเทศฮังการี | ||||||
บุคลากรหลัก | János Gönci (ซีอีโอ) | ||||||
เว็บไซต์ | www |
มาเลฟฮังกาเรียนแอร์ไลน์ถูกศาลฮังการีสั่งให้เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว ล้มละลายเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2012
จุดหมายปลายทาง
แก้ข้อตกลงการบินร่วม
แก้ก่อนเลิกดำเนินงาน มาเลฟได้มีข้อตกลงการบินร่วมกับสายการบินต่างๆ ดังต่อไปนี้:
ฝูงบิน
แก้ฝูงบินสุดท้าย
แก้ก่อนเลิกดำเนินงาน มาเลฟมีเครื่องบินประจำการในฝูงบินดังนี้:[2][3][4]
เครื่องบิน | ประจำการ | ผู้โดยสาร | หมายเหตุ | ||
---|---|---|---|---|---|
C | Y | รวม | |||
โบอิง 737-600 | 6 | 19 | 90 | 109[5] | |
โบอิง 737-700 | 7 | 19 | 102 | 121[6] | |
โบอิง 737-800 | 2 | 29 | 139 | 168 | |
3 | — | 180 | 180 | ||
บอมบาร์ดิเอร์ แดช 8 คิว400 | 4 | — | 72 | 72 | |
รวม | 22 |
ฝูงบินในอดีต
แก้มาเลฟเคยให้บริการเครื่องบินดังต่อไปนี้:[7]
เครื่องบิน | จำนวน | เริ่มประจำการ | ปลดประจำการ |
---|---|---|---|
แอโร 45 | 1 | 1949 | 1957 |
อานโตนอฟ อาน-2พีเอฟ | 1 | 1988 | 2012 |
บีเออี 146-200คิวที | 1 | 1993 | |
บอมบาร์ดิเอร์ ซีอาร์เจ100แอลอาร์ | 1 | 2002 | 2002 |
บอมบาร์ดิเอร์ ซีอาร์เจ200อีอาร์ | 4 | 2009 | |
โบอิง 707-320ซี | 3 | 1990 | 1991 |
โบอิง 737-200 | 6 | 1988 | 2001 |
โบอิง 737-300 | 7 | 1991 | 2004 |
โบอิง 737-400 | 6 | 1994 | |
โบอิง 737-500 | 2 | 1998 | |
โบอิง 767-200อีอาร์ | 2 | 1993 | 2009 |
โบอิง 767-300อีอาร์ | 3 | 1992 | 2008 |
เซสนา 152 | 2 | 2006 | 2012 |
เซสนา 172 | 2 | 1993 | |
ดักลาส ทีเอส-62 | 1 | 1952 | 1961 |
ฟอกเกอร์ 70 | 6 | 1995 | 2010 |
อิลยูชิน อิล-14เอ็ม | 3 | 1957 | 1970 |
อิลยูชิน อิล-14Pพี | 5 | 1958 | |
อิลยูชิน อิล-14ที | 1 | 2010 | 2012 |
อิลยูชิน อิล-18วี | 8 | 1960 | 1989 |
อิลยูชิน อิล-62 | 1 | 1991 | 1991 |
เล็ต แอล-200 โมราวา | 2 | 1993 | 2012 |
ลิซูนอฟ ลิ-2พี | 15 | 1946 | 1962 |
ลิซูนอฟ ลิ-2ที | 9 | 1957 | 1964 |
1 | 1980 | 2012 | |
เมาเล เอ็ม-7 | 1 | 2009 | 2012 |
โปลิการ์ปอฟ โป-2 | 5 | 1946 | 1960 |
ตูโปเลฟ ตู-134 | 14 | 1968 | 1998 |
ตูโปเลฟ ตู-154 | 18 | 1973 | 2001 |
ยาโกเลฟ ยัค-40 | 5 | 1987 | 1994 |
ซลิน ซี-142 | 6 | 1982 | 2012 |
ซลิน ซี-143 | 1 | 2003 | 2006 |
อ้างอิง
แก้- ↑ "Malev stops flying Survival of the fittest". The Economist. 3 February 2012. สืบค้นเมื่อ 6 February 2012.
- ↑ "Malev official fleet page". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 December 2011.
- ↑ "MALEV Fleet". Airfleets aviation. สืบค้นเมื่อ 18 December 2023.
- ↑ "Malev Fleet". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 January 2012. สืบค้นเมื่อ 3 February 2012.
- ↑ "Malev Hungarian Airlines Boeing B737 600NG".
- ↑ "Malev Hungarian Airlines Boeing B737 700NG".
- ↑ "Malev fleet". aerobernie.bplaced.net. สืบค้นเมื่อ February 20, 2021.