จักรวรรดิอะคีเมนิด

(เปลี่ยนทางจาก จักรวรรดิอคีเมนียะห์)

จักรวรรดิอะคีเมนียะห์ หรือ จักรวรรดิเปอร์เชียอะคีเมนียะห์ (อังกฤษ: Achaemenid Empire หรือ Achaemenid Persian Empire, เปอร์เซียเก่า: 𐎧𐏁𐏂, อักษรโรมัน: Xšāşa, แปลตรงตัว'จักรวรรดิ'; ประมาณ 550 – 330 ปีก่อนคริสต์ศักราช) เป็นหนึ่งในจักรวรรดิแรกของจักรวรรดิเปอร์เชียที่ปกครองอาณาบริเวณส่วนใหญ่ของเกรตเตอร์อิหร่านที่ตามมาจากจักรวรรดิมีเดีย ในยุคที่รุ่งเรืองที่สุด จักรวรรดิอะคีเมนียะห์มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 7.5 ล้านตารางกิโลเมตร[1] ทำให้เป็นจักรวรรดิที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในยุคโบราณ และเป็นจักรวรรดิที่วางรากฐานของระบบการปกครองจากศูนย์กลาง[2]

จักรวรรดิอะคีเมนียะห์

هخامنشیان
Hakhamaneshiyan
550 ปีก่อนคริสต์ศักราช–330 ปีก่อนคริสต์ศักราช
ธงชาติอะคีเมนียะห์
จักรวรรดิอะคีเมนียะห์ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดภายใต้พระเจ้าดาไรอัสมหาราช เมื่อ 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช
จักรวรรดิอะคีเมนียะห์ในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดภายใต้พระเจ้าดาไรอัสมหาราช เมื่อ 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช
สถานะจักรวรรดิ
เมืองหลวงPasargadae, Ecbatana, เพอร์ซีโพลิส, ซูซา
ภาษาทั่วไปภาษาเปอร์เซียโบราณ, ภาษาแอราเมอิก, ภาษาอีลาไมต์, ภาษาแอกแคด
ศาสนา
ศาสนาโซโรอัสเตอร์
การปกครองราชาธิปไตย
กษัตริย์ 
• 559–529 ปีก่อนคริสต์ศักราช
พระเจ้าไซรัสมหาราช
• 336–330 ปีก่อนคริสต์ศักราช
พระเจ้าดาไรอัสที่ 3
ยุคประวัติศาสตร์ยุคโบราณ
• ก่อตั้ง
550 ปีก่อนคริสต์ศักราช
• การก่อสร้างเพอร์ซีโพลิส
515 ปีก่อนคริสต์ศักราช
525 ปีก่อนคริสต์ศักราช
498–448 ปีก่อนคริสต์ศักราช
• อียิปต์ปฏิวัติและได้รับอิสรภาพ
404 ปีก่อนคริสต์ศักราช
• พิชิตอียิปต์อีกครั้งโดยอาร์ตาเซอร์ซีสที่ 3
343 ปีก่อนคริสต์ศักราช
334–330 ปีก่อนคริสต์ศักราช
330 ปีก่อนคริสต์ศักราช
สกุลเงินดาริค และ ไซโกลส
ก่อนหน้า
ถัดไป
จักรวรรดิมีเดีย
จักรวรรดิบาบิโลเนียใหม่
ราชอาณาจักรมาซิโดเนีย
ไดแอโดไค
ประวัติศาสตร์อิหร่านแผ่นดินใหญ่
Faravahar background
กษัตริย์แห่งเปอร์เชีย
ก่อนยุคใหม่
หลัง อิสลาม
อาณาจักรกาหลิป 637–651
จักรวรรดิอุมัยยะฮ์ 661–750
จักรวรรดิอับบาซียะฮ์ 750–1258
จักรวรรดิทาฮิริยะห์ 821–873
ราชวงศ์อาลาวิยะห์ 864–928
จักรวรรดิซัฟฟาริยะห์ 861–1003
จักรวรรดิซามานิยะห์ 819–999
จักรวรรดิไซยาริยะห์ 928–1043
จักรวรรดิไบอิยะห์ 934–1055
จักรวรรดิกาสนาวิยะห์ 975–1187
จักรวรรดิกอร์ 1149–1212
จักรวรรดิเซลจุค 1037–1194
จักรวรรดิควาเรซเมีย 1077–1231
ราชวงศ์คาร์ติยะห์ 1231-1389
จักรวรรดิข่านอิล 1256–1353
ราชวงศ์มุซาฟฟาริยะห์ 1314–1393
ราชวงศ์จุพานิยะห์ 1337–1357
ราชวงศ์จาไลยิริยะห์ 1339–1432
ราชวงศ์เตมือร์ 1370–1506
คารา โคยันลู เตอร์โคมันส์ 1407–1468
อัค โคยันลู เตอร์โคมันส์ 1378–1508
จักรวรรดิซาฟาวิยะห์ 1501–1722*
จักรวรรดิโมกุล 1526–1857
ราชวงศ์โฮทาคิ 1722–1738
จักรวรรดิอาฟชาริยะห์ 1736–1750
* หรือ 1736
ยุคใหม่

จักรวรรดิอะคีเมนียะห์ที่ก่อตั้งขึ้นโดยจักรพรรดิไซรัสมหาราช ครอบคลุมอาณาบริเวณสามทวีปที่รวมทั้งดินแดนในอัฟกานิสถาน และ ปากีสถาน บางส่วนของเอเชียกลาง อานาโตเลีย เธรซ บริเวณริมฝั่งทะเลดำส่วนใหญ่ อิรัก ตอนเหนือของซาอุดีอาระเบีย จอร์แดน ปาเลสไตน์ เลบานอน ซีเรีย และอียิปต์ไปจนถึงลิเบีย จักรวรรดิอะคีเมนียะห์เป็นศัตรูของนครรัฐกรีกในสงครามกรีก-เปอร์เซีย เพราะไปปล่อยชาวยิวจากบาบิโลเนีย และในการก่อตั้งให้ภาษาแอราเมอิกเป็นภาษาราชการ และพ่ายแพ้ต่ออเล็กซานเดอร์มหาราชในปี 330 ก่อนคริสต์ศักราช

ความสำคัญทางประวัติศาสตร์โลกของจักรวรรดิอะคีเมนียะห์ที่ก่อตั้งโดยจักรพรรดิไซรัสมหาราช ก็คือการวางรากฐานที่ได้รับความสำเร็จของระบบการบริหารการปกครองจากศูนย์กลาง และของรัฐบาลที่มีปรัชญาในการสร้างประโยชน์ให้แก่มวลชน[2]

อ้างอิง

แก้
  1. "Forgotten Empire: The World of Ancient Persia". Iran Heritage Foundation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-08-12. สืบค้นเมื่อ 2009-06-03.
  2. 2.0 2.1 Schmitt Achaemenid dynasty (i. The clan and dynasty)

ดูเพิ่ม

แก้