พ.ศ. 2482
ปี
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1939)
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
พุทธศักราช 2482 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1939 เป็นปีปกติสุรทินที่วันแรกเป็นวันอาทิตย์ ตามปฏิทินเกรกอเรียน (หากเป็นการนับศักราชแบบเดิม พ.ศ. 2482 เริ่มในวันที่ 1 เมษายน)
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2482 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1939 MCMXXXIX |
Ab urbe condita | 2692 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1388 ԹՎ ՌՅՁԸ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6689 |
ปฏิทินบาไฮ | 95–96 |
ปฏิทินเบงกอล | 1346 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2889 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 3 Geo. 6 – 4 Geo. 6 |
พุทธศักราช | 2483 |
ปฏิทินพม่า | 1301 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7447–7448 |
ปฏิทินจีน | 戊寅年 (ขาลธาตุดิน) 4635 หรือ 4575 — ถึง — 己卯年 (เถาะธาตุดิน) 4636 หรือ 4576 |
ปฏิทินคอปติก | 1655–1656 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3105 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1931–1932 |
ปฏิทินฮีบรู | 5699–5700 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 1995–1996 |
- ศกสมวัต | 1861–1862 |
- กลียุค | 5040–5041 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11939 |
ปฏิทินอิกโบ | 939–940 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1317–1318 |
ปฏิทินอิสลาม | 1357–1358 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 14 (昭和14年) |
ปฏิทินจูเช | 28 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4272 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 28 民國28年 |
ผู้นำ
แก้- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร (2 มีนาคม พ.ศ. 2477 – 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489)
- เจ้านครประเทศราช (นครเชียงใหม่): เจ้าแก้วนวรัฐ (พ.ศ. 2452 – พ.ศ. 2482)
- เจ้านครประเทศราช (นครลำพูน): เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (พ.ศ. 2454 – 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2486)
- นายกรัฐมนตรี: จอมพล แปลก พิบูลสงคราม (16 ธันวาคม พ.ศ. 2481 – 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487)
เหตุการณ์
แก้- 12 กุมภาพันธ์ – ทีมฟุตบอลทีมชาติเปรูชนะเลิศการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอเมริกาใต้ ครั้งที่ 15 ณ สนามกีฬานาซีโอนัล กรุงลิมา ประเทศเปรู
- 4 เมษายน - ก่อตั้งสมาคมนักเรียนไทยในประเทศญี่ปุ่น ในพระบรมราชูปถัมภ์
- 3 มิถุนายน - เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ ถึงแก่พิราลัย และเป็นอันสิ้นสุดลงของตำแหน่งเจ้าผู้ครองนคร (เจ้าประเทศราช) แห่งนครเชียงใหม่
- 24 มิถุนายน - รัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม ประกาศใช้รัฐนิยมฉบับที่ 1 อันมีสาระเกี่ยวกับการเปลี่ยนชื่อประเทศจาก สยาม เป็น ไทย
- 23 สิงหาคม - เยอรมันกับสหภาพโซเวียตลงนามในกติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบนทรอพ
- 31 สิงหาคม - ฮิตเลอร์เคลื่อนทัพสู่โปแลนด์
- 1 กันยายน - นาซีเยอรมนีบุกครอง อันเป็นจุดเริ่มของสงครามโลกครั้งที่สองในทวีปยุโรป
- 3 กันยายน - อังกฤษกับฝรั่งเศสประกาศสงครามกับเยอรมนี
- 17 กันยายน -กองทัพโซเวียตบุกโปแลนด์ทางตะวันออก
- 28 กันยายน - เยอรมนีและสหภาพโซเวียตทำสัญญาลับต่อกันโดยให้ลิทัวเนียเป็นของโซเวียต และมีการเปลี่ยนแปลงเส้นเขตแดนระหว่างเยอรมันกับโซเวียตในโปแลนด์
- 20 พฤศจิกายน - ก่อตั้งวงสุนทราภรณ์
- 10 ตุลาคม - สหภาพโซเวียตบังคับให้เอสโตเนีย ลัตเวีย และลิทัวเนียยอมให้ทหารโซเวียตเข้าไปในดินแดนของตนได้
- 26 พฤศจิกายน - สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว):ประกอบพิธีเททองหล่อพระกริ่งหน้าไทยและพระชัยวัฒน์น้ำเต้าเอียง ณ บริเวณพระอุโบสถวัดสุทัศนเทพวราราม กทม
- 30 พฤศจิกายน - สงครามฤดูหนาว: กองทหารโซเวียตโจมตีฟินแลนด์หลังจากฟินแลนด์ปฏิเสธไม่ให้ทหารโซเวียตเข้าไปในดินแดน
- 10 ธันวาคม รัฐบาลประกาศใช้เพลงชาติไทยฉบับปัจจุบัน
ไม่ทราบวัน
แก้- ค้นพบ ธาตุแฟรนเซียม
วันเกิด
แก้- 1 มกราคม -
- มณฑล ไกรวัตนุสสรณ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสาคร อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร
- สินธู ศรสงคราม อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงแบร์น และธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
- 3 มกราคม - ชิโฮะ ฟูจิมูระ นักแสดงหญิงชาวญี่ปุ่น
- 6 มกราคม - แบร์รี วิลเลียมส์ โค้ชนักฟุตบอลชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 23 เมษายน พ.ศ. 2561)
- 9 มกราคม - วิโรฒ ศรีสุโร สถาปนิก ศิลปิน อาจารย์มหาวิทยาลัยชาวไทย (ถึงแก่กรรม 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551)
- 15 มกราคม - สมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรรวม 8 สมัย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 6 สมัย
- 20 มกราคม -
- พระธรรมโกศาจารย์ (องอาจ ฐิตธมฺโม) พระราชาคณะชั้นธรรม เจ้าอาวาสวัดขันเงินและที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 16
- พันธุ์เครือ ยงใจยุทธ อดีตนายกรัฐมนตรี
- อับดุลลอฮ์ อันนะซูร นักเศรษฐศาสตร์และนายกรัฐมนตรีแห่งราชอาณาจักรจอร์แดน
- 22 มกราคม - สมชาย สุนทรวัฒน์ นักการเมืองไทย (ถึงแก่กรรม 21 เมษายน พ.ศ. 2554)
- 26 มกราคม - อัลฟี โลเรนโซ พิธีกร , นักข่าววงการบันเทิง (ถึงแก่กรรม 1 สิงหาคม พ.ศ. 2560)
- 30 มกราคม - ถาวร ตรีรัตน์ณรงค์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชลบุรี 1 สมัย สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงราย 3 สมัย และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ/แบบสัดส่วน 3 สมัย (ถึงแก่กรรม 3 มกราคม พ.ศ. 2560)
- 1 กุมภาพันธ์ -
- ปีเตอร์ เฟนิกซ นักธุรกิจและนักคริกเกตจากประเทศแอฟริกาใต้ (ถึงแก่กรรม 11 มกราคม พ.ศ. 2560)
- เสฐียรพงษ์ วรรณปก ด้านศาสนาพุทธและภาษาบาลี ราชบัณฑิตสาขาศาสนศาสตร์ (ถึงแก่กรรม 6 เมษายน พ.ศ. 2565)
- 15 กุมภาพันธ์ - สุรพล เกียรติไชยากร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดเชียงใหม่ อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดเชียงใหม่
- 18 กุมภาพันธ์ -
- ซาดาโตชิ ซูงาวาระ นักกีฬาวอลเลย์บอลชายชาวญี่ปุ่น
- ดุษฎี พนมยงค์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง ประเภทดนตรีสากล
- 19 กุมภาพันธ์ - ประทวน เขียวฤทธิ์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุโขทัย 6 สมัย
- 21 กุมภาพันธ์ - บ็อบ เชอร์ชิลล์ นักยิงปืน
- 28 กุมภาพันธ์ - วโรทัย ภิญญสาสน์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 2 สมัย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดจันทบุรี 4 สมัย
- 2 มีนาคม - ทากาโกะ ชิมาซุ พระราชธิดาพระองค์เล็กในจักรพรรดิโชวะ
- 3 มีนาคม - จรัสศรี ท��ปิรัช สตรีคนแรกที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดของประเทศไทย
- 4 มีนาคม - วิลเลียม เจ. ฮิลลี่ นักการเมืองจากสหรัฐอเมริกา (ถึงแก่กรรม 21 ตุลาคม พ.ศ. 2544)
- 7 มีนาคม - วิเศษ ใจใหญ่ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 7 สมัย และ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบบัญชีรายชื่อ (ถึงแก่กรรม 20 ตุลาคม พ.ศ. 2562)
- 9 มีนาคม - สุเมธ อุปนิสากร กรรมการการเลือกตั้งไทย
- 15 มีนาคม - วินิจ โชติสว่าง อดีตอธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และอธิการบดีคนแรกของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
- 18 มีนาคม - ประเสริฐศรี จันทน์อาภรณ์ อดีตนักร้องวงวายุบุตร เจ้าของฉายา (ถึงแก่กรรม 2 มีนาคม พ.ศ. 2556)
- 21 มีนาคม - ประมวล รุจนเสรี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
- 22 มีนาคม - ภุมรีภิรมย์ เชลล์
- 26 มีนาคม - ฮิโรยูกิ เอบิฮาร่า อดีตแชมป์โลกชาวญี่ปุ่น (ถึงแก่กรรม 20 เมษายน พ.ศ. 2534)
- 30 มีนาคม - สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา สถาปนิก จิตรกร ศิลปินชาวไทย และศิลปินแห่งชาติ
- 1 เมษายน - ถาวร จีระพันธ์ อดีตนักแข่งจักรยานชาวไทย (ถึงแก่กรรม 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557)
- 2 เมษายน -
- ไพศาล ยิ่งสมาน อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดยะลา 4 สมัย (ถึงแก่กรรม 16 มกราคม พ.ศ. 2556)
- มาร์วิน เกย์ นักร้อง นักแต่งเพลง ชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 1 เมษายน พ.ศ. 2527)
- 3 เมษายน - พระสิทธิสารมุนี (ชวรัชต์ มุนิจโร) อดีตเจ้าอาวาสวัดเจ็ดยอด (พระอารามหลวง) (ถึงแก่กรรม 7 กันยายน พ.ศ. 2551)
- 5 เมษายน - เจ้าชายเลกาที่ 1 มกุฎราชกุมารแห่งแอลเบเนีย (ถึงแก่กรรม 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554)
- 7 เมษายน - ฟรานซิส ฟอร์ด คอปโปลา ผู้กำกับ นักเขียนบท และผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
- 9 เมษายน - เกอร์นอท โรล ผู้ถ่ายทำละครชาวเยอรมัน
- 16 เมษายน - ดัสตี สปริงฟิลด์ นักร้องชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 2 มีนาคม พ.ศ. 2542)
- 19 เมษายน -
- ธนินท์ เจียรวนนท์ นักธุรกิจชาวไทย
- แอลี ฆอเมเนอี มัรเญียะอ์ชีอะฮ์สิบสองอิมาม
- 22 เมษายน - สุขุม เลาวัณย์ศิริ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (ถึงแก่กรรม 16 ธันวาคม พ.ศ. 2559)
- 23 เมษายน - มงคล สระฏัน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
- 27 เมษายน -
- ฌูเวา บือร์นาร์ดู วีไยรา ประธานาธิบดีแห่งประเทศกินี-บิสเซา (ถึงแก่กรรม 2 มีนาคม พ.ศ. 2552)
- อีริค เปเวอร์นากี จิตกรชาวเบลเยี่ยม
- 30 เมษายน -
- ปีเตอร์ ฟัน โฟลเลินโฮเฟิน พระสวามีในเจ้าหญิงมาร์ครีตแห่งเนเธอร์แลนด์
- สุนทร วิลาวัลย์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกร���ทรวงสาธารณสุข อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี 8 สมัย
- 6 พฤษภาคม - ลพ บุรีรัตน์ นักแต่งเพลงลูกทุ่งชาวไทย (ถึงแก่กรรม 10 ธันวาคม พ.ศ. 2559)
- 11 พฤษภาคม - ประสงค์ หวลประไพ กองทัพภาคที่ 2 (ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2552)
- 16 พฤษภาคม - วีระวัฒน์ โอสถานุเคราะห์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กาฬสินธุ์ เขต 2
- 18 พฤษภาคม - เพเทอร์ กรืนแบร์ค นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน (ถึงแก่กรรม 7 เมษายน พ.ศ. 2561)
- 25 พฤษภาคม - เอียน แม็กเคลเลน นักแสดงชายชาวอังกฤษ
- 27 พฤษภาคม - ประคอง นิมมานเหมินท์ นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญภาษาไทย
- 29 พฤษภาคม -
- ทวี ไกรคุปต์ อดีตรัฐมนตรี และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี 7 สมัย (ถึงแก่กรรม 19 เมษายน พ.ศ. 2567)
- อัมมาร สยามวาลา นักเศรษฐศาสตร์ อดีตประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- 31 พฤษภาคม - อัษฎางค์ ปาณิกบุตร กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ก กลาง อบต./ อดีต กรรมการ ก. ถ.กระทรวงมหาดไทย (ถึงแก่กรรม 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2563)
- 3 มิถุนายน - สนิท วรปัญญา อดีตอธิบดีกรมส่งเสริมการส่งออก อดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดลพบุรี
- 5 มิถุนายน -
- ผ่องศรี วรนุช ศิลปินแห่งชาติ นักร้องเพลงลูกทุ่งชาวไทย
- ฟอเซีย อันจัม กวีภาษาปาทาน, นักศึกษาศาสตร์และนักวิทยุ (ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2560)
- 12 มิถุนายน - เพลิน พรหมแดน ศิลปินเพลงลูกทุ่งชาวไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยลูกทุ่ง) พ.ศ. 2555 (ถึงแก่กรรม 3 สิงหาคม พ.ศ. 2567)
- 22 มิถุนายน - ถวิล ฤกษ์หร่าย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกำแพงเพชร 5 สมัย
- 29 มิถุนายน -
- พระธรรมรัตนากร (สีนวล ปญฺญาวชิโร) เจ้าอาวาสวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร
- ลัว ลี่ นักแสดงภาพยนตร์จีนกำลังภายในชาวฮ่องกง (ถึงแก่กรรม 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545)
- 30 มิถุนายน - กิตติศักดิ์ หัตถสงเคราะห์ อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุดรธานี (ถึงแก่กรรม 11 มีนาคม พ.ศ. 2562)
- 1 กรกฎาคม - มุฮัมมัด บากิร อัลฮะกีม (ถึงแก่กรรม 29 สิงหาคม พ.ศ. 2546)
- 3 กรกฎาคม - พระเทพสิทธินายก (ชื่น ปญฺญาธโร) อดีตเจ้าคณะจังหวัดเชียงราย และอดีตเจ้าอาวาสวัดพระสิงห์ (พระอารามหลวง) อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย (ถึงแก่กรรม 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2561)
- 5 กรกฎาคม - ชุมพร เทพพิทักษ์ นักแสดงชาวไทย (ถึงแก่กรรม 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2560)
- 6 กรกฎาคม - ซุลฏอน บิน มุฮัมมัด อัลกอซิมี
- 10 กรกฎาคม - ปัญญา จีนาคำ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแม่ฮ่องสอน
- 15 กรกฎาคม - อานีบัล กาวากู ซิลวา นักเศรษฐศาสตร์ที่เป็นประธานาธิบดีคนที่ 19 ของโปรตุเกส
- 16 กรกฎาคม - แบร์รี ซีล นักบินสายการบินพาณิชย์ (ถึงแก่กรรม 19 กุม���าพันธ์ พ.ศ. 2529)
- 22 กรกฎาคม - เทเรนซ์ สแตมพ์ นักแสดงภาพยนตร์ และละครเวทีชาวอังกฤษ
- 26 กรกฎาคม - จอห์น โฮเวิร์ด นายกรัฐมนตรีคนที่ 25 ของออสเตรเลีย
- 30 กรกฎาคม - ชวลิต เสริมปรุงสุข ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม) พ.ศ. 2557 (ถึงแก่กรรม 27 เมษายน พ.ศ. 2563)
- 2 สิงหาคม - เวส เครเวน ผู้กำกับภาพยนตร์ นักเขียน โปรดิวเซอร์ นักแสดงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 30 สิงหาคม พ.ศ. 2558)
- 5 สิงหาคม - เจ้าหญิงไอรีนแห่งเนเธอร์แลนด์
- 6 สิงหาคม - บุญหลง ถาคำฟู อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง 3 สมัย (ถึงแก่กรรม 11 มกราคม พ.ศ. 2553)
- 9 สิงหาคม - โรมาโน โปรดี นักการเมืองกลาง-ซ้ายชาวอิตาลี
- 19 สิงหาคม - เจ้าชายวิลเฮ็ล์มแห่งเชาม์บวร์ค-ลิพเพอ (ประสูติ ค.ศ. 1939)
- 20 สิงหาคม - นิพนธ์ วิสิษฐยุทธศาสตร์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ 3 สมัย อดีตรองประธานวุฒิสภา คนที่ 1 และอดีตสมาชิกวุฒิสภา จังหวัดอ่างทอง
- 21 สิงหาคม - ดอน กัปโปนี นักร้องชาวอิตาลี
- 22 สิงหาคม - เจ้าหญิงกูดาแห่งวัลเด็คและเพือร์ม็อนท์
- 23 สิงหาคม - เชษฐา ฐานะจาโร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม อดีตผู้บัญชาการทหารบก อดีตแม่ทัพภาคที่ 1
- 25 สิงหาคม - เขียวหวาน ยนตรกิจ นักมวยไทยชาวไทย
- 26 สิงหาคม -
- เพเทอร์ ฟริคเคอ นักแสดงชายชาวเยอรมัน
- สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา อดีต ส.ส.จังหวัดนครราชสีมา 3 สมัย
- 28 สิงหาคม - วลาดีมีร์ อีวาชอฟ นักแสดงภาพยนตร์ชาวรัสเซีย (ถึงแก่กรรม 23 มีนาคม พ.ศ. 2538)
- 29 สิงหาคม -
- ชิเงมาซะ คาวากามิ แชมป์นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น
- โจเอล ชูมาเกอร์ ผู้กำกับภาพยนตร์ นักเขียนบท และโปรดิวเซอร์ชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 22 มิถุนายน พ.ศ. 2563)
- 1 กันยายน - ฟิลิปป์ มาร์แชนด์ นักการเมืองชาวฝรั่งเศส (ถึงแก่กรรม 10 มกราคม พ.ศ. 2561)
- 3 กันยายน - เทศภักดิ์ นิยมเหตุ นักแปลชาวไทย (ถึงแก่กรรม 1 เมษายน พ.ศ. 2538)
- 5 กันยายน - จอร์จ เลเซนบี นักแสดงชาวออสเตรเลีย
- 7 กันยายน -
- สตานิสลาฟ เปตรอฟ นาวาอากาศโซเวียต (ถึงแก่กรรม 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2560)
- อุระ หวังอ้อมกลาง อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ
- 17 กันยายน - คิม กีซู แชมป์นักมวยสากลชาวเกาหลีใต้ (ถึงแก่กรรม 10 มิถุนายน พ.ศ. 2540)
- 18 กันยายน -
- เคน เฮล นักฟุตบอลและผู้จัดการทีมชาวอังกฤษ (ถึงแก่กรรม 5 มกราคม พ.ศ. 2558)
- ฌอร์ฌึ ซังไปยู นักกฎหมายและนักการเมืองชาวโปรตุเกส
- 21 กันยายน - วลาดิมีร์ ไวส์ (นักฟุตบอลเกิดปี พ.ศ. 2482) อดีตนักฟุตบอลชาวสโลวาเกีย (ถึงแก่กรรม 23 เมษายน พ.ศ. 2561)
- 25 กันยายน - กอปร กฤตยากีรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม
- 27 กันยายน - ถวัลย์ ดัชนี จิตรกร ช่างเขียนรูป แห่งดอยสูงเชียงราย (ถึงแก่กรรม 3 กันยายน พ.ศ. 2557)
- 3 ตุลาคม -
- บ็อบ อาร์มสตรอง อดีตนักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
- เวลิบอร์ วาโซวิช อดีตนักฟุตบอลและผู้จัดการทีมชาวเซอร์เบีย (ถึงแก่กรรม 4 มีนาคม พ.ศ. 2545)
- 9 ตุลาคม - นิโคลัส กริมชอว์ สถาปนิกชาวอังกฤษ
- 11 ตุลาคม - คีนหญุ่น นายกรัฐมนตรีคนที่ 9 ของพม่า
- 12 ตุลาคม - สุเมธ พรมพันห่าว อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดหนองคาย (ถึงแก่กรรม 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2553)
- 13 ตุลาคม - เดชา บุญค้ำ ภูมิสถาปนิกชาวไทย ผู้ออกแบบงานภูมิสภาปนิกของ สวนเบญจสิริ และ สวนหลวง ร. 9
- 18 ตุลาคม
- ลี ฮาร์วีย์ ออสวอลด์ ประธานาธิบดีแห่งสหรัฐอเมริกา (ถึงแก่กรรม 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506)
- อรุณ รุ่งรัตน์ นักร้องลูกทุ่งชายชาวไทย (ถึงแก่กรรม 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2559)
- 19 ตุลาคม - กลาดิส เซนเดร์ ชาวเปรู
- 20 ตุลาคม - กรองกาญจน์ วีสมหมาย อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดศรีสะเกษ 5 สมัย อดีตสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดศรีสะเกษ
- 21 ตุลาคม - เฮเลน ไชราค ริชาร์ดสัน นักแสดงชาวอินเดีย
- 22 ตุลาคม -
- มาริษา อมาตยกุล นักร้องวงสุนทราภรณ์
- ฌูวากิง ชีซานู นักการเมืองโมซัมบิก
- 24 ตุลาคม -
- ชาย เมืองสิงห์ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง นักร้อง-นักแต่งเพลงลูกทุ่งชาวไทย
- เอฟ. เมอร์รีย์ เอบราฮัม นักแสดงชาวอเมริกัน
- 2 พฤศจิกายน - ชัค บิตทิก นักโปโลน้ำและนักว่ายน้ำชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 28 เมษายน พ.ศ. 2548)
- 3 พฤศจิกายน - เอมอรี เอ็ม. โทมัส นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์
- 8 พฤศจิกายน - เฮนนิง คริสโตเฟอร์เซน นักการเมืองชาวเดนมาร์ก (ถึงแก่กรรม 31 ธันวาคม 2559)
- 16 พฤศจิกายน - หลิง ปอ นักร้องและนักแสดงหญิงชาวจีน
- 18 พฤศจิกายน - มาร์กาเร็ต เจย์ บารอนเนส เจย์แห่งแพดดิงตัน
- 26 พฤศจิกายน -
- ทีนา เทอร์เนอร์ นักร้องหญิงชาวอเมริกัน
- อัมรินทร์ คอมันตร์ นักธุรกิจระหว่างประเทศชาวไทย
- อับดุลละฮ์ อะฮ์มัด บาดาวี อดีตนายกรัฐมนตรีประเทศมาเลเซีย
- 5 ธันวาคม - ริการ์ดู บูฟิลย์ สถาปนิกชาวสเปน
- 7 ธันวาคม - พิศมัย วิไลศักดิ์ นักแสดงชาวไทย
- 11 ธันวาคม - พูนสวัสดิ์ มูลศาสตรสาทร อดีตนักการเมืองชาวสุรินทร์
- 16 ธันวาคม - ธีร์ศิลป์ คัมภีรญาณนนท์ กองทัพอากาศไทย
- 18 ธันวาคม - ไมเคิล มัวร์ค็อก นักเขียนนิยายวิทยาศาสตร์
- 23 ธันวาคม - มาร์ซีโอ สตราซโซลโด นักการเมืองชาวอิตาลี (ถึงแก่กรรม 5 มกราคม พ.ศ. 2560)
- 27 ธันวาคม -
- จอห์น เอมัส นักแสดงชาวอเมริกัน
- แอนดรูว์ พาร์กเกอร์-โบลส์ นักการทหารชาวอังกฤษ
- ? - ดำ แดนสุพรรณ อดีตนักร้องลูกทุ่งชาวไทย (ถึงแก่กรรม 26 มิถุนายน พ.ศ. 2528)
- ? - บูคารี อัดจิ นายกรัฐมนตรีประเทศไนเจอร์ (ถึงแก่กรรม 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2561)
- ? - เอกตอร์ บาร์รันเตส (ถึงแก่กรรม สิงหาคม พ.ศ. 2533)
วันถึงแก่กรรม
แก้- 28 มกราคม - วิลเลียม บัตเลอร์ เยตส์ กวีชาวไอร์แลนด์ (เกิด 13 มิถุนายน พ.ศ. 2408)
- 3 มิถุนายน - เจ้าแก้วนวรัฐ เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ พระองค์ที่ 9 พระองค์สุดท้าย
- ? - เจ้าราชวงศ์ (แก้วปราบเมรุ ณ ลำปาง)