ไนโรบี (อังกฤษ: Nairobi) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของประเทศเคนยา ชื่อนครมาจากวลีภาษามาไซว่า Enkare Nairobi แปลว่า "สถานที่แห่งน้ำเย็น" ซึ่งสื่อถึงแม่น้ำไนโรบีที่ไหลผ่านนครนี้ เขตนครมีประชากร 4,397,073 คนตามสำมะโน ค.ศ. 2019[7] ส่วนเขตมหานครคาดการณ์ว่ามีประชากรใน ค.ศ. 2022 ที่ 10.8 ล้านคน[8]

ไนโรบี
เมืองหลวง
เมืองและเทศมณฑลไนโรบี
ธงของไนโรบี
ธง
ตราราชการของไนโรบี
ตราอาร์ม
สมญา: 
"The Green City under the Sun", "Safari Capital of the World" , "Kanairo" , "Nai"
ไนโรบีตั้งอยู่ในเคนยา
ไนโรบี
ไนโรบี
ที่ตั้งในประเทศเคนยา
พิกัด: 01°17′11″S 36°49′02″E / 1.28639°S 36.81722°E / -1.28639; 36.81722
ประเทศ เคนยา
เทศมณฑลไนโรบี
ก่อตั้งค.ศ. 1899
เทศมณฑลย่อย
การปกครอง
 • องค์กรเทศมณฑลนครไนโรบี
 • สภานิติบัญญัติสมัชชาเทศมณฑล
 • ผู้ว่าราชการJohnson Sakaja
พื้นที่[a][2]
 • เมืองหลวง696.1 ตร.กม. (268.8 ตร.ไมล์)
ความสูง1,795 เมตร (5,500 ฟุต)
ประชากร
 (2019)[3]
 • เมืองหลวง4,397,073 คน
 • ความหนาแน่น6,317.6 คน/ตร.กม. (16,363 คน/ตร.ไมล์)
 • เขตเมือง4,397,073 คน
 • รวมปริมณฑล10,400,676 คน
เขตเวลาUTC+3 (เวลาแอฟริกาตะวันออก)
รหัสพื้นที่020
เอชดีไอ (2019)0.681[4]
ปานกลาง
จีดีพี (2022)29,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[5]
อัตราความยากจน1.3 %[6]
1.90 ดอลลาร์สหรัฐ/วัน
เว็บไซต์nairobi.go.ke

ไนโรบีก่อตั้งใน ค.ศ. 1899 โดยเจ้าหน้าที่อาณานิคมในบริติชอีสต์แอฟริกา ทำหน้าที่เป็นโรงเก็บรถไฟบนทางรถไฟสายยูกันดา - เคนยา[9] เมืงนี้เติบโตอย่างรวดเร็วจนเป็นเมืองหลวงเคนยาแทนที่โมมบาซาใน ค.ศ. 1907[10] หลังเป็นเอกราชใน ค.ศ. 1963 ไนโรบีจึงกลายเป็นเมืองหลสงของสาธารณรัฐเคนยา[11] ในสมัยอาณานิคม นครนี้เป็นศุนย์กลางอุตสาหกรรมกาแฟ, ชา และsisalของอาณานิคม[12][13]

เมืองพี่น้อง

แก้

ไนโรบีเป็นเมืองพี่น้องกับเมืองดังนี้: [14]

หมายเหตุ

แก้
  1. บางข้อมูลระบุว่าไนโรบีมีพื้นที่ 703.9 ตารางกิโลเมตร (271.8 ตารางไมล์)[1]

อ้างอิง

แก้
  1. "Nairobi County". Infotrak. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-11-08. สืบค้นเมื่อ 8 November 2022.
  2. "Nairobi Population 2022". World Population Review. สืบค้นเมื่อ 8 November 2022.
  3. "2019 Kenya Population and Housing Census Volume I: Population by County and Sub-County". knbs.or.ke. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 November 2019. สืบค้นเมื่อ 7 November 2019.
  4. Global Data Lab. "Human Development Indices: Sub-national HDI". globaldatalab.org. สืบค้นเมื่อ 22 August 2021.
  5. "AfricaCheck.org GDP". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 October 2021. Alt URL เก็บถาวร 27 มีนาคม 2020 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  6. "Sub-national HDI – Area Database – World Poverty Clock". WorldPoverty.io (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 18 August 2021.
  7. "2019 Kenya Population and Housing Census Volume I: Population by County and Sub-County". Kenya Central Bureau of Statistics. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 November 2019. สืบค้นเมื่อ 7 November 2019.
  8. Omwenga, Mairura (2010-09-19). "Nairobi Emerging Metropolitan Region Development Planning and Management Opportunities and Challenges" (PDF). ISOCARP CONGRESS. 46th ISOCARP Congress. Nairobi. pp. 1–5.
  9. Roger S. Greenway, Timothy M. Monsma, Cities: missions' new frontier, (Baker Book House: 1989), p.163.
  10. mombasa.go.ke (2018-07-28). "History of Mombasa". Mombasa County. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 January 2021. สืบค้นเมื่อ 14 June 2019.
  11. britannica.com. "Nairobi History". www.britannica.com/. สืบค้นเมื่อ 18 February 2020.
  12. "Production". East Africa Sisal (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). สืบค้นเมื่อ 2020-05-24.
  13. Rashid, Mahbub (2016-06-16). The Geometry of Urban Layouts: A Global Comparative Study (ภาษาอังกฤษ). Springer. ISBN 978-3-319-30750-3.
  14. "Official Report: Second County Assembly – Third Session" (PDF). Nairobi. 2019-11-20. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2023-03-26. สืบค้นเมื่อ 2021-08-03.
  15. "Ethiopia: Addis' sister cities, historical ties". Tuck Magazine. 2018-12-11. สืบค้นเมื่อ 2021-08-03.
  16. "Across globe, building bridges". lowellsun.com. The Sun. 2012-06-03. สืบค้นเมื่อ 2021-08-03.
  17. "Declara cidades – irmas, São Luis e Nairobi. (de autoria da vereadora Rose Sales, projeto de lei nº 214/2011) – publicada (15.12.2016)". camara.slz.br (ภาษาโปรตุเกส). São Luís. 2017-03-04. สืบค้นเมื่อ 2021-08-03.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้