สงครามอาณานิคมโปรตุเกส
สงครามอาณานิคมโปรตุเกส Guerra Colonial Portuguesa | |||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ส่วนหนึ่งของ การร้องเรียกเอกราชในแอฟริกาและสงครามเย็น | |||||||||
| |||||||||
คู่สงคราม | |||||||||
Supported by: | |||||||||
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ | |||||||||
ผู้นำ: อังตอนียู ดือ ออลีไวรา ซาลาซาร์ มาเซโล เคตาโน Américo Tomás แองโกลา: Francisco da Costa Gomes โปรตุเกสกินี: António de Spínola Otelo Saraiva de Carvalho โมซัมบิก: António Augusto dos Santos (1964-69) Kaúlza de Arriaga (1969-74) |
'แองโกลา: อโกซตินโฮ เนโตร ฌูแซ เอดัวร์ดู ดุช ซังตุช Lúcio Lara Holden Roberto Jonas Savimbi โปรตุเกสกินี: Amílcar Cabral Luís Cabral ชูเอา เบร์นาร์ดู วีเอรา Domingos Ramos Pansau Na Isna Francisco Mende โมซัมบิก: เอดูอาร์โด มอนเลน (1962–69) โยอาควิม ชิสซาโน (1962-75) Filipe Samuel Magaia (1964–66) ซาโมรา มาเชล (1969–75) | ||||||||
กำลัง | |||||||||
ประจำในยุโรป 148,000นาย; ในแองโกลา 65,000 นาย ในโปรตุเกสกินี 32,000 นาย ในโมซัมบิก 51,000 นาย |
กองกำลังกองโจร 38,000-43,000 นาย; ในแองโกลา 18,000 นาย ในโปรตุเกสกินี 10,000 นาย ในโมซัมบิก 10-15,000 นาย | ||||||||
ความสูญเสีย | |||||||||
ถูกสังหาร 8,827 นายในแองโกลา |
ถูกสังหาร 50,000+นายในแองโกลา | ||||||||
พลเรือนบาดเจ็บล้มตาย: ในโมซัมบิก 50,000 คน[7] |
สงครามอาณานิคมโปรตุเกส (อังกฤษ: Portuguese Colonial War, โปรตุเกส: Guerra Colonial Portuguesa), ในโปรตุเกสเรียกว่า สงครามต่างแดน (อังกฤษ: Overseas War,โปรตุเกส: Guerra do Ultramar) ส่วนในอดีตอาณานิคมเรียกว่าสงครามแห่งการปลดปล่อย (อังกฤษ: War of Liberation,โปรตุเกส: Guerra de Libertação), คือการต่อสู้ระหว่างทหารของโปรตุเกสกับขบวนการชาตินิยมในอาณานิคมแอฟริกาของโปรตุเกสระหว่างปี พ.ศ. 2504ถึงปี พ.ศ. 2517 เกิดการรัฐประหารล้มล้างระบอบเอสตาโด โนโว เปลี่ยนแปลงในรัฐบาลนำความขัดแย้งถึงจุดสิ้นสุด
ในยุโรปในช่วงปี พ.ศ. 2493 ถึง พ.ศ. 2503, ระบอบการปกครองเอสตาโด โนโวของโปรตุเกสไม่ได้ยอมถอนตัวจากการเป็นอาณานิคมแอฟริกา เป็นดินแดนเหล่านั้นได้รับการเรียกร้องเอกราชตั้งแต่ปี พ.ศ. 2494 ในช่วงปี พ.ศ. 2503 การเคลื่อนไหวเป็นอิสระต่าง ๆ กลายเป็นกองกำลังติดอาวุธ ในแองโกลา ขบวนการประชาชนเพื่อการปลดปล่อยแองโกลา,แนวร่วมปลดปล่อยแห่งชาติแองโกลา,สหภาพแห่งชาติเพื่อความเป็นอิสระแองโกลา ในโปรตุเกสกินี พรรคแอฟริกันเป็นอิสระของประเทศกินีและเคปเวิร์ดและในโมซัมบิก แนวร่วมปลดปล่อโมซัมบิก ในตลอดความขัดแย้งได้มีการทารุณกรรมพลเรือนที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย[8]
ตลอดระยะเวลาความขัดแย้ง โปรตุเกสเผชิญกับการคว่ำบาตรทางการค้าและมีมาตรการลงโทษอื่น ๆ ที่กำหนดโดยสหประชาชาติ ปี พ.ศ. 2516 และได้โจมตีระบอบการปกครองเอสตาโด โนโวว่าไม่เป็นประชาธิปไตย
การสิ้นสุดของสงครามมาพร้อมกับการทำรัฐประหารปฏิวัติคาร์เนชั่นของเดือนเมษายนปี พ.ศ. 2517 ส่งผลให้ในการอพยพของประชาชนโปรตุเกส หลายพันคนออกจากอาณานิคม[9]เริ่มถึงบุคลากรทางทหารยุโรป, แอฟริกา และเชื้อชาติผสมจากอาณานิคมและประเทศที่เพิ่งเป็นอิสระในแอฟริกา.[10][11][12] การอพยพครั้งนี้ได้รับการยกย่องว่าเป็นหนึ่งในการโยกย้ายที่เงียบสงบใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ของโลก.[13]
ซึ่งโปรตุเกสเป็นประเทศแรกที่สร้างอาณานิคมในทวีปแอฟริกาในเซวตา พ.ศ. 1958 และก็กลายเป็นประเทศสุดท้ายที่จะออกจากดินแดนในแอฟริกา
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Afrikka" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-05-23. สืบค้นเมื่อ 12 May 2011.
- ↑ Cann, John P. (February 28, 1997). Counterinsurgency in Africa: The Portuguese Way of War, 1961-1974. Praeger; First Edition. pp. 11 to 14 [1].
- ↑ A Guerra - Colonial - do Ultramar - da Libertação, 2nd Season (Portugal 2007, director Joaquim Furtado, RTP)
- ↑ Portugal since 1974, Britannica
- ↑ A Guerra - Colonial - do Ultramar - da Libertação, 1st Season (Portugal 2007, director Joaquim Furtado, RTP
- ↑ Mia Couto, Carnation revolution, Monde Diplomatique
- ↑ Mid-Range Wars and Atrocities of the Twentieth Century retrieved December 4, 2007
- ↑ Der Spiegel,1973 (เยอรมัน)
- ↑ Portugal Migration, The Encyclopedia of the Nations
- ↑ Flight from Angola, The Economist (August 16, 1975).
- ↑ Dismantling the Portuguese Empire เก็บถาวร 2013-07-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Time magazine (Monday, July 7, 1975).
- ↑ Portugal - Emigration, Eric Solsten, ed. Portugal: A Country Study.
- ↑ António Barreto, Portugal: Um Retrato Social, 2006