ข้ามไปเนื้อหา

วอลเลย์บอลชายทีมชาติปวยร์โตรีโก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ปวยร์โตรีโก
สมาคมสหพันธ์วอลเลย์บอลปวยร์โตรีโก
สมาพันธ์นอร์เซกา
หัวหน้าผู้ฝึกสอนOssie Antonetti
อันดับเอฟไอวีบี24 (ณ เดือนเมษายน ค.ศ. 2022)
เครื่องแบบ
เหย้า
เยือน
ชิงแชมป์โลก
เข้าร่วมแข่งขัน6 (ครั้งแรกเมื่อ 1974)
ผลการแข่งที่ดีที่สุดอันดับที่ 12 (2006)
www.yosoyvoli.com (ในภาษาสเปน)
วอลเลย์บอลชายทีมชาติปวยร์โตรีโก
เหรียญรางวัล
วอลเลย์บอลแพน-อเมริกันเกมส์
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2007 ซานโตโดมิงโก ทีม]]
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2010 ซานฮวน ทีม
วอลเลย์บอลชิงแชมป์นอร์เซกา
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2007 อะนาไฮม์ ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2009 บายามอน ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2015 กอร์โดบา ทีม
อเมริกากลางและแคริบเบียนเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2002 ซานซัลวาดอร์ ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2006 การ์ตาเฮนา ทีม
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2010 มายาเกซ ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2014 เบรากรุซ ทีม

วอลเลย์บอลชายทีมชาติปวยร์โตรีโก (สเปน: Selección de voleibol de Puerto Rico) เป็นทีมชาติของปวยร์โตรีโก และเป็นส่วนหนึ่งในการแข่งขันวอลเลย์บอลระดับนานาชาติ ในปี ค.ศ. 2007 ทีมชาติปวยร์โตรีโกได้รับรางวัลเหรียญเงินในการแข่งขันชิงแชมป์วอลเลย์บอลชายชิงแชมป์นอร์เซกา หลังจากเอาชนะทีมชาติคิวบาในรอบรองชนะเลิศ

เกียรติประวัติ

[แก้]

วอลเลย์บอลชิงแชมป์โลก

[แก้]
  • เม็กซิโก 1974 – อันดับที่ 23
  • ญี่ปุ่น 2006 – อันดับที่ 12
  • อิตาลี 2010 – อันดับที่ 13
  • โปแลนด์ 2014 – อันดับที่ 21
  • อิตาลี/บัลแกเรีย 2018 – อันดับที่ 21
  • โปแลนด์/สโลวีเนีย 2022

วอลเลย์บอลเวิลด์คัพ

[แก้]
  • ญี่ปุ่น 2007 – อันดับที่ 6

วอลเลย์บอลเวิลด์ลีก

[แก้]
  • โปแลนด์ 2011 – อันดับที่ 16
  • อิตาลี 2014 – อันดับที่ 27
  • บราซิล 2015 – อันดับที่ 28
  • โปแลนด์ 2016 – อันดับที่ 36

แพนอเมริกันเกมส์

[แก้]
  • สหรัฐ 1959 – อันดับที่ 8
  • แคนาดา 1967 – อันดับที่ 8
  • โคลอมเบีย 1971 – อันดับที่ 11
  • ปวยร์โตรีโก 1979 – อันดับที่ 6
  • เวเนซุเอลา 1983 – อันดับที่ 7
  • คิวบา 1991 – อันดับที่ 5
  • อาร์เจนตินา 1995 – อันดับที่ 6
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2003 – อันดับที่ 7
  • บราซิล 2007 – อันดับที่ 5
  • เม็กซิโก 2011 – อันดับที่ 7
  • แคนาดา 2015 – อันดับที่ 4
  • เปรู 2019 – อันดับที่ 5

วอลเลย์บอลแพน-อเมริกันคัพ

[แก้]
  • เม็กซิโก 2006ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2007 เหรียญเงิน
  • แคนาดา 2008 – อันดับที่ 7
  • เม็กซิโก 2009 – อันดับที่ 4
  • ปวยร์โตรีโก 2010 เหรียญทองแดง
  • แคนาดา 2011 – อันดับที่ 4
  • เม็กซิโก 2013 – อันดับที่ 4
  • เม็กซิโก 2014 – อันดับที่ 4
  • สหรัฐ 2015 – อันดับที่ 7
  • เม็กซิโก 2016ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • แคนาดา 2017 เหรียญเงิน
  • เม็กซิโก 2018 – อันดับที่ 4
  • เม็กซิโก 2019 – อันดับที่ 6
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 2021 – อันดับที่ 5
  • แคนาดา 2022 – อันดับที่ 5

วอลเลย์บอลชิงแชมป์นอร์เซกา

[แก้]
  • เม็กซิโก 1969 – อันดับที่ 6
  • คิวบา 1971 – อันดับที่ 4
  • เม็กซิโก 1973 – อันดับที่ 4
  • สหรัฐ 1975 – ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 1977 – อันดับที่ 4
  • คิวบา 1979 – ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • เม็กซิโก 1981 – อันดับที่ 5
  • สหรัฐ 1983 – อันดับที่ 5
  • สาธารณรัฐโดมินิกัน 1985 – อันดับที่ 6
  • คิวบา 1987 – อันดับที่ 6
  • ปวยร์โตรีโก 1989 – อันดับที่ 4
  • แคนาดา 1991 – อันดับที่ 5
  • สหรัฐ 1993 – อันดับที่ 4
  • แคนาดา 1995 – อันดับที่ 4
  • ปวยร์โตรีโก 1997 – อันดับที่ 5
  • เม็กซิโก 1999 – อันดับที่ 5
  • บาร์เบโดส 2001 – อันดับที่ 5
  • เม็กซิโก 2003 – อันดับที่ 5
  • แคนาดา 2005 – อันดับที่ 5
  • สหรัฐ 2007 เหรียญเงิน
  • ปวยร์โตรีโก 2009 เหรียญทองแดง
  • ปวยร์โตรีโก 2011 – อันดับที่ 4
  • แคนาดา 2013 – อันดับที่ 4
  • เม็กซิโก 2015 เหรียญทองแดง
  • สหรัฐ 2017 – ไม่ได้เข้าร่วมแข่งขัน
  • แคนาดา 2019 – อันดับที่ 5
  • เม็กซิโก 2021 เหรียญทอง

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]