จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ในวิชาคณิตศาสตร์ ลิมิตของลำดับเป็นค่าซึ่งพจน์ของลำดับ "โน้มเอียง" เข้าหา หากลำดับใดมีลิมิต ลำดับนั้นเรียก ลู่เข้า (convergent) หากลำดับไม่ลู่เข้าจะเรียก ลู่ออก (divergent) มีคำกล่าวว่าลิมิตของลำดับเป็นความคิดมูลฐานซึ่งเป็นที่ลงเอยสุดท้ายของการวิเคราะห์ทั้งหมด
สามารถนิยามลิมิตในปริภูมิเมตริกหรือทอพอโลยีใดก็ได้ แต่มักจะเจอครั้งแรกในระบบจำนวนจริง
ในจำนวนจริง จำนวน เป็นลิมิตของลำดับ ถ้าจำนวนในลำดับมีค่าเข้าใกล้ มากขึ้น ๆ และไม่เข้าใกล้จำนวนอื่น
- ถ้า สำหรับค่าคงตัว c แล้ว [proof 1]
- ถ้า แล้ว [proof 2]
- ถ้า เมื่อ เป็นคู่ และ เมื่อ เป็นคี่ แล้ว (ข้อเท็จจริงว่า ต่อเมื่อ เป็นคู่นั้นไม่เกี่ยวข้องกัน)
- สำหรับจำนวนจริงใด ๆ อาจสามารถสร้างลำดับที่ลู่เข้าจำนวนนั้นได้โดยการใช้การประมาณทศนิยม ตัวอย่างเช่น ลำดับ ลู่เข้า หมายเหตุว่า ทศนิยม เป็นลิมิตของลำดับก่อนหน้า นิยามโดย
- การหาลิมิตของลำดับอาจไม่ชัดเจนเสมอไป สองตัวอย่างได้แก่ (ซึ่งมีลิมิตเป็นจำนวน e) และ มัชฌิมเลขคณิต–เรขาคณิต (arithmetic–geometric mean) ซึ่ง ทฤษฎีบทบีบ (squeeze theorem) มักมีประโยชน์ในการหาลิมิตของกรณีเหล่านี้
- ↑ Proof: choose . For every ,
- ↑ Proof: choose (the floor function). For every , .