ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดลำพูนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(ต่าง) ←รุ่นเก่ากว่านี้ | รุ่นแก้ไขล่าสุด (ต่าง) | รุ่นที่ใหม่กว่า → (ต่าง)
จังหวัดลำพูนในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529

← พ.ศ. 2526 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 พ.ศ. 2531 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน245,860
ผู้ใช้สิทธิ63.76%
  First party Second party Third party
 
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช พิชัย รัตตกุล ประมาณ อดิเรกสาร
พรรค กิจสังคม ประชาธิปัตย์ ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1 ลดลง1

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำพูน พ.ศ. 2529 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2529 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2529 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 1 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 3 คน จำนวนที่นั่งเพิ่มจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2526 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยจังหวัดลำพูนทั้งจังหวัด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดลำพูน
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม มนตรี ด่านไพบูลย์ (10)* 93,620
ประชาธิปัตย์ จริญญา พึ่งแสง (13) 54,145
กิจสังคม ประเทือง ปานลักษณ์ (11) 47,481
สหประชาธิปไตย สมาน ชมภูเทพ (7)* 33,970
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ผลเจริญ วรรณตุง (24) 28,923
กิจสังคม บุญเย็น พรหมพิงค์ (12) 19,953
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อุ่นเรือน พุทธมาจารย์ (16) 18,960
ชาติไทย พัลลภ ฉางข้าวชัย (26) 16,970
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ปรีชา คงศรี (1)✔ 15,666
ประชาธิปัตย์ เกียรติศักดิ์ พงษ์จิระนิธิ (14) 12,887
ชาติไทย พรศักดิ์ ศุภศรี (25) 12,446
ประชาธิปัตย์ นิพนธ์ ธัญหมอ (15) 9,278
สหประชาธิปไตย สุธีร์ ไชยวงศ์ (8) 8,780
สหประชาธิปไตย บรรยง หลวงบูล (9) 7,267
ประชากรไทย สังวาล ดรุณกานต์ (5) 6,687
ประชากรไทย กรองแก้ว อัศวชิน (4) 3,829
ประชากรไทย อรภา เลาห์รอดพันธ์ (6) 3,606
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) อรุณ ปัญญาชัย (2) 3,286
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) โรม การธราชว์ (3) 2,246
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ประพันธ์ สังขทัต ณ อยุธยา (23) 2,070
ชาติไทย พรชัย สุธีรวัชรากุล (27) 1,960
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) พันตำรวจเอก พิชัย วงศ์สุนทร (22) 1,909
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ประพิศ รักสกุล (17) 1,363
มวลชน สมพงศ์ ดัสดีสอง (20) 870
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ว่าที่ร้อยตรี ทวีศักดิ์ แสงเงิน (18) 822
มวลชน จรัล สุริยะเจริญ (19) 724
มวลชน ไพเราะ บุหลัน (21) 711
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2529. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2530