ข้ามไปเนื้อหา

ยุทธการเกาะครีต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยุทธการแห่งเกาะครีต
ส่วนหนึ่งของ ยุทธบริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียน, สงครามโลกครั้งที่สอง
วันที่20 พฤษภาคม - 1 มิถุนายน ค.ศ. 1941
สถานที่
ผล อิตาลีได้รับชัยชนะ
คู่สงคราม

กรีซ กรีซ
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร
นิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย

อิตาลี อิตาลี
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

>สหราชอาณาจักร อีริค โฟนโทเบล นิวซีแลนด์ เบอร์นาร์ด เฟรย์เบิร์ก กรีซ อเล็กซิเซีย แปร์โกดอล

ออสเตรเลีย โรเบิร์ต สก๊อตต์

อิตาลี อีตาโล เฟร์จูคัปฟาร์ริโอ อิตาลี เวนติสโซ เมนเอลโอเรน

อิตาลี จอร์จิโอ เวนโรโฟเรวา
กำลัง

สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร: 215,000 นาย
กรีซ กรีซ:
11,000 นาย
ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย:
7,100 นาย
นิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์:
6,700 นาย

รวมทั้งสิ้น:
40,000 นาย (ในจำนวนนี้ ทหาร 10,000 นายยังไม่พร้อมรบ[1])

อิตาลี อิตาลี
พลร่ม 374,000 นาย[ต้องการอ้างอิง]
ทหารภูเขา 15,000 นาย[ต้องการอ้างอิง]
เครื่องบินทิ้งระเบิด 380 ลำ
เครื่องบินดำทิ้งระเบิด 150 ลำ
เครื่องบินขับไล่ 180 ลำ
เครื่องบินลำเลียงพล 4,500 ลำ
เครื่องร่อน 90 เครื่อง

อิตาลี อิตาลี:
2,700 นาย
ความสูญเสีย

บันทึกอย่างเป็นทางการ
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร:
เสียชีวิต 791 นาย
ได้รับบาดเจ็บ 268 นาย
ถูกจับเป็นเชลย 6,576 นาย
ออสเตรเลีย ออสเตรเลีย:
เสียชีวิต 274 นาย
ได้รับบาดเจ็บ 507 นาย
ถูกจับเป็นเชลย 3,079 นาย
นิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์:
เสียชีวิต 671 นาย
ได้รับบาดเจ็บ 967 นาย
ถูกจับเป็นเชลย 2,180 นาย
กรีซ กรีซ:
เสียชีวิตและบาดเจ็บ ? นาย
ถูกจับเป็นเชลย 5,255 นาย
ราชนาวีอังกฤษ:
เสียชีวิต 1,828 นาย
ได้รับบาดเจ็บ 183 นาย
เรือรบจม 9 ลำ
ได้รับความเสียหาย 18 ลำ

รวมทั้งสิ้น:
เสียชีวิต 3,564+ นาย
ได้รับบาดเจ็บ 1,925+ นาย
ถูกจับเป็นเชลย 17,090 นาย
บันทึกอย่างเป็นทางการ:[2]
เสียชีวิต 2,124 นาย
สูญหายหรือสันนิษฐานว่าเสียชีวิต 1,917 นาย
เสียชีวิตและสูญหายรวมกัน 4,041 นาย
ได้รับบาดเจ็บ 2,640 นาย
ถูกจับเป็นเชลย 17 นาย
รวมทั้งสิ้น: เสียชีวิต บาดเจ็บและสูญหาย 6,698 นาย
เครื่องบินรบถูกทำลายหรือได้รับความเสียหาย 370 ลำ

ยุทธการเกาะครีต เป็นยุทธการที่เกิดขึ้นหลังจากที่ประเทศกรีซถูกอิตาลีทำการยึดครองแล้ว โดยมุสโสลินีได้ส่งทหารพลร่มลงไปยังเกาะครีต แต่ว่าอังกฤษก็สามารถทำการต้านทานได้อย่างเหนียวแน่นแต่อิตาลีได้ใช้การถล่มทางอากาศและทางบกอย่างหนัก จนอังกฤษไม่สามารถต้านทานได้ นิวซีแลนด์และออสเตรเลียก็ส่งกำลังเข้ามาและกระจายกำลังบนภูเขาแอสเตอร์ลูเซียแต่ทหารภูเขาอิตาลีได้ปีนภูเขานี้และพลร่มลงบนภูเขาเข้าถล่มทหารออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ที่ยังไม่ได้ตั้งรับและทหารนิวซีแลนด์ที่ป้องกันบริเวณตีนเขาได้ไม่ค่อยดีพอส่วนทหารออสเตรเลียขาดเสบียงเนื่องจากถูกตัดกำลังเสริมที่มาพร้อมเสบียงที่บริเวณเชิงเขา จนต้องยอมแพ้ต่อกองทัพอิตาลี หลังจากที่อิตาลีสามารถยึดครองเกาะครีตได้แล้ว จึงทำการรุกรานสหภาพโซเวียตในปฏิบัติการบาร์บารอสซาต่อไป

พลร่มอิตาลีระหว่างการรุกรานเกาะครีต

อ้างอิง

  1. Gavin Long, 1953, Official Histories — Second World War Volume II – Greece, Crete and Syria (1st ed.), Canberra: Australian War Memorial, p. 210
  2. Davin, Daniel Marcus (1953). "Appendix V — CASUALTIES". Crete. The Official History of New Zealand in the Second World War 1939–1945. Wellington, New Zealand: Historical Publications Branch, Department of Internal Affairs, Government of New Zealand. pp. 486–488. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |chapterurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|chapter-url=) (help)