ข้ามไปเนื้อหา

ทยานันท์ สรัสวตี

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(ต่าง) ←รุ่นเก่ากว่านี้ | รุ่นแก้ไขล่าสุด (ต่าง) | รุ่นที่ใหม่กว่า → (ต่าง)
มหาฤษี ทยานันท์ สรัสวตี
ส่วนบุคคล
เกิด
มูล ศังกระ ติวารี (Mool Shankar Tiwari)[1]

12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1824(1824-02-12)
มรณภาพ30 ตุลาคม ค.ศ. 1883(1883-10-30) (59 ปี)[2]
ศาสนาศาสนาฮินดู
สัญชาติอินเดีย
ก่อตั้งอารยสมาช
ปรัชญาพระเวท
ตำแหน่งชั้นสูง
ครูสวามีวิรชานันท์
งานเขียนสัตยรรถประกาศ (1875)

Rigvedadibhashyabhumika

Vyavharabhanu

มหาฤษี ทยานันท์ สรัสวตี (อักษรโรมัน: Maharshi Dayanand Saraswati)[3] (pronunciation, นามเมื่อเกิด มูล ศังกระ ติวารี; Mool Shankar Tiwari, 12 กุมภาพันธ์ 1824 – 30 ตุลาคม 1883) เป็นนักปรัชญาและผู้นำทางสังคมชาวอินเดีย ผู้ก่อตั้งอารยสมาช ซึ่งเป็นขบวนการปฏิรูปเวทิกธรรม เขาเป็นบุคคลแรกที่เรียกร้อง สวราช โดยใช้วลี "ประเทศอินเดียเพื่อชาวอินเดีย" (India for Indians) ในปี 1876 ต่อมาคำดังกล่าวถูกนำมาใช้แพร่หลายโดยโลกมานยะ ดิลก[3][4] เขามีแนวทางทางจิตวิญญาณที่ปฏิเสธการบูชารูปเคารพและพิธีกรรมต่าง ๆ ในการบูชา แต่เลือกศึกษาและทำงานเกี่ยวกับหลักการและปรัชญาแบบพระเวท สรวปัลลี ราธากฤษณัน อดีตประธานาธิบดีอินเดียและนักปรัชญา ถือว่าเขาเป็น "ผู้สร้างอินเดียใหม่" ร่วมกับอรวินท์ โฆษ[5][6][7]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Prem Nath Chopra. Religions and Communities of India. p. 27.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ autogenerated1
  3. 3.0 3.1 Aurobindo Ghosh, Bankim Tilak Dayanand (Calcutta 1947, p. 1) "Lokmanya Tilak also said that Swami Dayanand was the first who proclaimed Swaraj for Bharatpita i.e. India."
  4. Dayanand Saraswati Commentary on Yajurved (Lazarus Press Banaras 1876)
  5. Radhakrishnan, S. (2005). Living with a Purpose. Orient Paperbacks. p. 34. ISBN 978-81-222-0031-7.
  6. Kumar, Raj (2003). "5. Swami Dayananda Saraswati: Life and Works". Essays on modern Indian Abuse. Discovery Publishing House. p. 62. ISBN 978-81-7141-690-5.
  7. Salmond, Noel Anthony (2004). "3. Dayananda Saraswati". Hindu iconoclasts: Rammohun Roy, Dayananda Sarasvati and nineteenth-century polemics against idolatry. Wilfrid Laurier Univ. Press. p. 65. ISBN 978-0-88920-419-5.