ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11: บรรทัด 11:
{{flagicon|Italy|1861}} [[ราชอาณาจักรอิตาลี (ค.ศ. 1861-1946)|อิตาลี]]
{{flagicon|Italy|1861}} [[ราชอาณาจักรอิตาลี (ค.ศ. 1861-1946)|อิตาลี]]
|commander1 = {{flagicon|United Kingdom}} [[อีลเบิร์ก อีฟแมน]]
|commander1 = {{flagicon|United Kingdom}} [[อีลเบิร์ก อีฟแมน]]
{{flagicon|Ethiopia|1897}} [[สมเด็จพระจักรพรรดิเฮลี เซลาสซีที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย
]]
{{flagicon|Ethiopia|1897}} [[อีลซาล วาโดรูรู]]
{{flagicon|Ethiopia|1897}} [[อีลซาล วาโดรูรู]]
|commander2 = {{flagicon|Italy|1861}} [[เวเนโซอาร์ ซาร์คัปปาร์คาซิโอ]]
|commander2 = {{flagicon|Italy|1861}} [[เวเนโซอาร์ ซาร์คัปปาร์คาซิโอ]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:47, 12 กรกฎาคม 2553

สงครามอิตาลี-อบิสซิเนียครั้งที่สอง
ส่วนหนึ่งของ ยุทธการแอฟริกาตะวันออก, สงครามโลกครั้งที่สอง
วันที่15 ตุลาคม ค.ศ.1935 - 1 มิถุนายน ค.ศ. 1938
สถานที่
ผล อิตาลีได้รับชัยชนะ
คู่สงคราม

สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร
เอธิโอเปีย อาณาจักรเอธิโอเปีย

อิตาลี อิตาลี
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

สหราชอาณาจักร อีลเบิร์ก อีฟแมน เอธิโอเปีย [[สมเด็จพระจักรพรรดิเฮลี เซลาสซีที่ 1 แห่งเอธิโอเปีย ]]

เอธิโอเปีย อีลซาล วาโดรูรู

อิตาลี เวเนโซอาร์ ซาร์คัปปาร์คาซิโอ อิตาลี เวนติสโซ เมนเอลโอเรน

อิตาลี โจซิป โบรซ ติโต
กำลัง

สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร: 215,000 นาย
เอธิโอเปีย: 13,000 นาย

รวมทั้งสิ้น:
40,000 นาย (ในจำนวนนี้ ทหาร 10,000 นายยังไม่พร้อมรบ[1])

อิตาลี อิตาลี
พลร่ม 374,000 นาย[ต้องการอ้างอิง]
ทหารภูเขา 15,000 นาย[ต้องการอ้างอิง]
เครื่องบินทิ้งระเบิด 380 ลำ
เครื่องบินดำทิ้งระเบิด 150 ลำ
เครื่องบินขับไล่ 180 ลำ
เครื่องบินลำเลียงพล 4,500 ลำ
เครื่องร่อน 90 เครื่อง

อิตาลี อิตาลี:
2,700 นาย
ความสูญเสีย

บันทึกอย่างเป็นทางการ
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร:
เสียชีวิต 791 นาย
ได้รับบาดเจ็บ 268 นาย
ถูกจับเป็นเชลย 6,576 นาย
เอธิโอเปีย
เสียชีวิต 1,828 นาย
ได้รับบาดเจ็บ 183 นาย
เรือรบจม 9 ลำ
ได้รับความเสียหาย 18 ลำ

รวมทั้งสิ้น:
เสียชีวิต 3,564+ นาย
ได้รับบาดเจ็บ 1,925+ นาย
ถูกจับเป็นเชลย 17,090 นาย
บันทึกอย่างเป็นทางการ:[2]
เสียชีวิต 2,124 นาย
สูญหายหรือสันนิษฐานว่าเสียชีวิต 1,917 นาย
เสียชีวิตและสูญหายรวมกัน 4,041 นาย
ได้รับบาดเจ็บ 2,640 นาย
ถูกจับเป็นเชลย 17 นาย
รวมทั้งสิ้น: เสียชีวิต บาดเจ็บและสูญหาย 6,698 นาย
เครื่องบินรบถูกทำลายหรือได้รับความเสียหาย 370 ลำ

สงครามอิตาลี-อบิสซิเนียครั้งที่สอง(Invasion of Italian East Africa) เป็นเหตุการ์ณที่เกิดขี้นเมื่อ เบนิโต มุสโสลินีได้พยายามขยายอาณาเขตของจักรวรรดิอิตาลีในทวีปแอฟริกาด้วยการรุกรานเอธิโอเปียซึ่สามารถดำรงเอกราชได้จากชาติยุโรปผู้แสวงหาอาณานิคมอื่นๆ ในคำแก้ตัวของเหตุการณ์วอลวอล เมื่อเดือนกันยายน 1935 อิตาลีรุกรานเอธิโอเปียเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม โดยปราศจากการประกาศสงครามอย่างเป็นทางการ สันนิบาตชาติได้ประกาศว่าอิตาลีเป็นผู้รุกราน แต่ก็ไม่สามารถลงโทษอิตาลีได้แต่อย่างใดสงครามดำเนินไปอย่างเชื่องช้าแม้ว่าฝ่ายอิตาลีจะมีกำลังคนและอาวุธที่ดีกว่า (รวมไปถึง ก๊าซมัสตาร์ด) เมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1936 กองทัพอิตาลีได้รับชัยชนะเด็ดขาดในสงครามที่ ยุทธการเมย์ชิว จักรพรรดิฮาลี เซลาสซีได้หลบหนีออกนอกประเทศเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม ต่อมา สามารถยึดเมืองหลวง เอดิส อบาบา ได้เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม และอิตาลีสามารถยึดครองได้ทั้งประเทศเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม และรวมเอาเอริเทรีย เอธิโอเปียและโซมาลีแลนด์เข้าด้วยกันเป็นรัฐเดี่ยว เรียกว่า แอฟริกาตะวันออกของอิตาลี

เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 1936 จักรพรรดิฮาลี เซลาสซีได้กล่าวสุนทรพจน์ต่อสันนิบาติชาติประณามการกระทำ ของอิตาลีและวิพากษ์วิจารณ์ต่อประเทศอื่นที่ไม่ยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือ พระองค์ได้เตือนว่า "วันนี้เป็นคราว ของเรา แต่มันจะถึงคราวของท่านเมื่อถึงวันพรุ่งนี้" และจากการที่สันนิบาติชาติกล่าวโจมตีอิตาลี มุสโสลิน ีจึงประกาศให้อิตาลีถอนตัวออกจากความเป็นสมาชิกของสันนิบาติชาติ



อ้างอิง

  1. Gavin Long, 1953, Official Histories — Second World War Volume II – Greece, Crete and Syria (1st ed.), Canberra: Australian War Memorial, p. 210
  2. Davin, Daniel Marcus (1953). "Appendix V — CASUALTIES". Crete. The Official History of New Zealand in the Second World War 1939–1945. Wellington, New Zealand: Historical Publications Branch, Department of Internal Affairs, Government of New Zealand. pp. 486–488. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |chapterurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|chapter-url=) (help)