ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามอิตาลี-อะบิสซิเนียครั้งที่สอง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 35: บรรทัด 35:


==อ้างอิง=
==อ้างอิง=
{{commonscat|Battle for Crete}}
{{commonscat|Battle for Crete}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}

รุ่นแก้ไขเมื่อ 16:37, 12 กรกฎาคม 2553

สงครามอิตาลี-อบิสซิเนียครั้งที่สอง
ส่วนหนึ่งของ ยุทธการแอฟริกาตะวันออก, สงครามโลกครั้งที่สอง
วันที่20 พฤษภาคม - 1 มิถุนายน ค.ศ. 1941
สถานที่
ผล อิตาลีได้รับชัยชนะ
คู่สงคราม

สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร
เอธิโอเปีย อาณาจักรเอธิโอเปีย

อิตาลี อิตาลี
ผู้บังคับบัญชาและผู้นำ

สหราชอาณาจักร อีลเบิร์ก อีฟแมน

เอธิโอเปีย อีลซาล วาโดรูรู

อิตาลี เวเนโซอาร์ ซาร์คัปปาร์คาซิโอ อิตาลี เวนติสโซ เมนเอลโอเรน

อิตาลี โจซิป โบรซ ติโต
กำลัง

สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร: 215,000 นาย
เอธิโอเปีย: 13,000 นาย

รวมทั้งสิ้น:
40,000 นาย (ในจำนวนนี้ ทหาร 10,000 นายยังไม่พร้อมรบ[1])

อิตาลี อิตาลี
พลร่ม 374,000 นาย[ต้องการอ้างอิง]
ทหารภูเขา 15,000 นาย[ต้องการอ้างอิง]
เครื่องบินทิ้งระเบิด 380 ลำ
เครื่องบินดำทิ้งระเบิด 150 ลำ
เครื่องบินขับไล่ 180 ลำ
เครื่องบินลำเลียงพล 4,500 ลำ
เครื่องร่อน 90 เครื่อง

อิตาลี อิตาลี:
2,700 นาย
ความสูญเสีย

บันทึกอย่างเป็นทางการ
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร:
เสียชีวิต 791 นาย
ได้รับบาดเจ็บ 268 นาย
ถูกจับเป็นเชลย 6,576 นาย
เอธิโอเปีย
เสียชีวิต 1,828 นาย
ได้รับบาดเจ็บ 183 นาย
เรือรบจม 9 ลำ
ได้รับความเสียหาย 18 ลำ

รวมทั้งสิ้น:
เสียชีวิต 3,564+ นาย
ได้รับบาดเจ็บ 1,925+ นาย
ถูกจับเป็นเชลย 17,090 นาย
บันทึกอย่างเป็นทางการ:[2]
เสียชีวิต 2,124 นาย
สูญหายหรือสันนิษฐานว่าเสียชีวิต 1,917 นาย
เสียชีวิตและสูญหายรวมกัน 4,041 นาย
ได้รับบาดเจ็บ 2,640 นาย
ถูกจับเป็นเชลย 17 นาย
รวมทั้งสิ้น: เสียชีวิต บาดเจ็บและสูญหาย 6,698 นาย
เครื่องบินรบถูกทำลายหรือได้รับความเสียหาย 370 ลำ

สงครามอิตาลี-อบิสซิเนียครั้งที่สอง(Invasion of Italian East Africa) เป็นเหตุการ์ณที่เกิดขี้นเมื่อ เบนิโต มุสโสลินีได้พยายามขยายอาณาเขตของจักรวรรดิอิตาลีในทวีปแอฟริกาด้วยการรุกรานเอธิโอเปียซึ่สามารถดำรงเอกราชได้จากชาติยุโรปผู้แสวงหาอาณานิคมอื่นๆ ในคำแก้ตัวของเหตุการณ์วอลวอล เมื่อเดือนกันยายน 1935 อิตาลีรุกรานเอธิโอเปียเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม โดยปราศจากการประกาศสงครามอย่างเป็นทางการ สันนิบาตชาติได้ประกาศว่าอิตาลีเป็นผู้รุกราน แต่ก็ไม่สามารถลงโทษอิตาลีได้แต่อย่างใดสงครามดำเนินไปอย่างเชื่องช้าแม้ว่าฝ่ายอิตาลีจะมีกำลังคนและอาวุธที่ดีกว่า (รวมไปถึง ก๊าซมัสตาร์ด) เมื่อวันที่ 31 มีนาคม ค.ศ. 1936 กองทัพอิตาลีได้รับชัยชนะเด็ดขาดในสงครามที่ ยุทธการเมย์ชิว จักรพรรดิฮาลี เซลาสซีได้หลบหนีออกนอกประเทศเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม ต่อมา สามารถยึดเมืองหลวง เอดิส อบาบา ได้เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม และอิตาลีสามารถยึดครองได้ทั้งประเทศเมื่อวันที่ 7 พฤษภาคม และรวมเอาเอริเทรีย เอธิโอเปียและโซมาลีแลนด์เข้าด้วยกันเป็นรัฐเดี่ยว เรียกว่า แอฟริกาตะวันออกของอิตาลี

เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 1936 จักรพรรดิฮาลี เซลาสซีได้กล่าวสุนทรพจน์ต่อสันนิบาติชาติประณามการกระทำ ของอิตาลีและวิพากษ์วิจารณ์ต่อประเทศอื่นที่ไม่ยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือ พระองค์ได้เตือนว่า "วันนี้เป็นคราว ของเรา แต่มันจะถึงคราวของท่านเมื่อถึงวันพรุ่งนี้" และจากการที่สันนิบาติชาติกล่าวโจมตีอิตาลี มุสโสลิน ีจึงประกาศให้อิตาลีถอนตัวออกจากความเป็นสมาชิกของสันนิบาติชาติ



อ้างอิง

  1. Gavin Long, 1953, Official Histories — Second World War Volume II – Greece, Crete and Syria (1st ed.), Canberra: Australian War Memorial, p. 210
  2. Davin, Daniel Marcus (1953). "Appendix V — CASUALTIES". Crete. The Official History of New Zealand in the Second World War 1939–1945. Wellington, New Zealand: Historical Publications Branch, Department of Internal Affairs, Government of New Zealand. pp. 486–488. {{cite book}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |chapterurl= ถูกละเว้น แนะนำ (|chapter-url=) (help)