ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิเอเกราเม็ง"
ลไม่มีความย่อการแก้ไข |
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
||
บรรทัด 4: | บรรทัด 4: | ||
== ภาพรวม == |
== ภาพรวม == |
||
ประกอบด้วยซุปที่ทำโดย[[ดาชิ]]จาก[[กระดูกหมู]]หรือ[[ซุปไก่]] ผสมน้ำจิ้ม[[โชยุ]] ใช้เส้นบะหมี่ค่อนข้างหน้า ใส่[[มันไก่]]เติม[[ผักปวยเล้ง]] [[หมูแดง]] [[สาหร่ายโนริ]]<ref>{{Cite news|date=2007-01-12|title=王者「吉村家」を人気店、新業態店が猛追 独自の進化を遂げる横浜ラーメン最新事情|work=横浜経済新聞|url=https://www.hamakei.com/column/140/}}</ref><ref name="yomiuriiekei20140406">「家系ラーメン 豚骨醤油 海外に広がる」[[読売新聞]] 2014年4月6日 朝刊 神奈川版 27面</ref><ref>{{Cite news|date=2007-01-12|title=王者「吉村家」を人気店、新業態店が猛追 独自の進化を遂げる横浜ラーメン最新事情|work=横浜経済新聞|url=https://www.hamakei.com/column/140/}}</ref> โดยทั่วไป สามารถปรับความแข็งของบะหมี่ ปริมาณน้ำมัน และความเข้มข้นของรสชาติได้ตามความต้องการ{{R|toyokeizai20190311}} |
ประกอบด้วยซุปที่ทำโดย[[ดาชิ]]จาก[[กระดูกหมู]]หรือ[[ซุปไก่]] ผสมน้ำจิ้ม[[โชยุ]] ใช้เส้นบะหมี่ค่อนข้างหน้า ใส่[[มันไก่]]เติม[[ผักปวยเล้ง]] [[หมูแดง]] [[สาหร่ายโนริ]]<ref>{{Cite news|date=2007-01-12|title=王者「吉村家」を人気店、新業態店が猛追 独自の進化を遂げる横浜ラーメン最新事情|work=横浜経済新聞|url=https://www.hamakei.com/column/140/}}</ref><ref name="yomiuriiekei20140406">「家系ラーメン 豚骨醤油 海外に広がる」[[読売新聞]] 2014年4月6日 朝刊 神奈川版 27面</ref><ref>{{Cite news|date=2007-01-12|title=王者「吉村家」を人気店、新業態店が猛追 独自の進化を遂げる横浜ラーメン最新事情|work=横浜経済新聞|url=https://www.hamakei.com/column/140/}}</ref> โดยทั่วไป สามารถปรับความแข็งของบะหมี่ ปริมาณน้ำมัน และความเข้มข้นของรสชาติได้ตามความต้องการ{{R|toyokeizai20190311}}{{R|yomiuriiekei20140406}} |
||
เดิมทีร้านประเภทนี้พบได้ในร้านที่แยกสาขามาจากร้านโยชิมุระยะ แล้วจึงแพร่หลายออกไป และเนื่องจากชื่อร้านเหล่านี้มักลงท้ายด้วยอักษร 家 ซึ่งอาจอ่านว่า "ยะ" (や) หรือ "อิเอะ" (いえ) ในที่สุดจึงเกิดเป็นชื่อเรียกรวม ๆ ว่า 家系 โดย 家 ในที่นี้เลือกอ่านเป็น "อิเอะ" จึงเป็น "อิเอะเก"{{R|toyokeizai20170519}} นอกจากนี้ยังมีร้านที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับร้านโยชิมุระยะ แต่ได้ได้พัฒนาร้านในแบบตนเองด้วย<ref>{{Cite web|date=2013-10-12|title=家系一大勢力“壱系”の全貌が明かされる!? ~横浜の家系ラーメン全店制覇への道 其の四|url=https://hamarepo.com/story.php?story_id=2328|access-date=2019-04-07|publisher=[[はまれぽ.com]]}}</ref> ตั้งแต่กลางทศวรรษ 2010 เป็นต้นมา มีจำนวนร้านค้าในเครือ เพิ่มขึ้นใน อุตสาหกรรมร้านอาหารหลัก ๆ ที่ให้บริการราเม็งประเภทเดียวกัน ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับโยชิมุรายะหรือร้านค้าในเครืออื่น ๆ โดยสิ้นเชิง{{R|toyokeizai20170519}} |
เดิมทีร้านประเภทนี้พบได้ในร้านที่แยกสาขามาจากร้านโยชิมุระยะ แล้วจึงแพร่หลายออกไป และเนื่องจากชื่อร้านเหล่านี้มักลงท้ายด้วยอักษร 家 ซึ่งอาจอ่านว่า "ยะ" (や) หรือ "อิเอะ" (いえ) ในที่สุดจึงเกิดเป็นชื่อเรียกรวม ๆ ว่า 家系 โดย 家 ในที่นี้เลือกอ่านเป็น "อิเอะ" จึงเป็น "อิเอะเก"{{R|toyokeizai20170519}} นอกจากนี้ยังมีร้านที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับร้านโยชิมุระยะ แต่ได้ได้พัฒนาร้านในแบบตนเองด้วย<ref>{{Cite web|date=2013-10-12|title=家系一大勢力“壱系”の全貌が明かされる!? ~横浜の家系ラーメン全店制覇への道 其の四|url=https://hamarepo.com/story.php?story_id=2328|access-date=2019-04-07|publisher=[[はまれぽ.com]]}}</ref> ตั้งแต่กลางทศวรรษ 2010 เป็นต้นมา มีจำนวนร้านค้าในเครือ เพิ่มขึ้นใน อุตสาหกรรมร้านอาหารหลัก ๆ ที่ให้บริการราเม็งประเภทเดียวกัน ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับโยชิมุรายะหรือร้านค้าในเครืออื่น ๆ โดยสิ้นเชิง{{R|toyokeizai20170519}} |
||
บรรทัด 14: | บรรทัด 14: | ||
[[หมวดหมู่:ราเม็ง]] |
[[หมวดหมู่:ราเม็ง]] |
||
[[หมวดหมู่:โยโกฮามะ]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:06, 19 ธันวาคม 2567
อิเอเกราเม็ง (ญี่ปุ่น: 家系ラーメン; โรมาจิ: iekei rāmen) หรือ โยโกฮามะอิเอเกราเม็ง (横浜家系ラーメン) เป็นชื่อเรียกรวม ๆ ของราเม็งจำพวกหนึ่งที่มีต้นแบบมาจากร้านโยชิมุระยะ (吉村家, ก่อตั้งใน ปี 1974) ซึ่งเป็นร้านราเมงในเมืองโยโกฮามะ จังหวัดคานางาวะ มีลักษณะโดยรวมคือเป็นโชยุราเม็งใส่ซุปกระดูกหมูที่มีความเข้มข้น[1][2]
ภาพรวม
ประกอบด้วยซุปที่ทำโดยดาชิจากกระดูกหมูหรือซุปไก่ ผสมน้ำจิ้มโชยุ ใช้เส้นบะหมี่ค่อนข้างหน้า ใส่มันไก่เติมผักปวยเล้ง หมูแดง สาหร่ายโนริ[3][4][5] โดยทั่วไป สามารถปรับความแข็งของบะหมี่ ปริมาณน้ำมัน และความเข้มข้นของรสชาติได้ตามความต้องการ[2][4]
เดิมทีร้านประเภทนี้พบได้ในร้านที่แยกสาขามาจากร้านโยชิมุระยะ แล้วจึงแพร่หลายออกไป และเนื่องจากชื่อร้านเหล่านี้มักลงท้ายด้วยอักษร 家 ซึ่งอาจอ่านว่า "ยะ" (や) หรือ "อิเอะ" (いえ) ในที่สุดจึงเกิดเป็นชื่อเรียกรวม ๆ ว่า 家系 โดย 家 ในที่นี้เลือกอ่านเป็น "อิเอะ" จึงเป็น "อิเอะเก"[1] นอกจากนี้ยังมีร้านที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับร้านโยชิมุระยะ แต่ได้ได้พัฒนาร้านในแบบตนเองด้วย[6] ตั้งแต่กลางทศวรรษ 2010 เป็นต้นมา มีจำนวนร้านค้าในเครือ เพิ่มขึ้นใน อุตสาหกรรมร้านอาหารหลัก ๆ ที่ให้บริการราเม็งประเภทเดียวกัน ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับโยชิมุรายะหรือร้านค้าในเครืออื่น ๆ โดยสิ้นเชิง[1]
ณ เดือนกันยายน 2013 มีร้านอาหารประมาณ 1,000 แห่งที่ให้บริการอิเอเก โดยส่วนใหญ่อยู่ในญี่ปุ่นและยังพบได้ในประเทศอื่นในเอเชีย[7] โดยในจำนวนนี้ประมาณ 150 ร้านตั้งอยู่ในเมืองโยโกฮามะ (อ้างอิงจากการสำรวจ แต่ร้านค้ามีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วจึงไม่อาจระบุตัวเลขแน่ชัด[8]) อย่างไรก็ตาม ร้านเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นร้านแฟรนไชส์ที่ดำเนินการโดยบริษัทนายทุนใหญ่ และมีร้านค้าเพียงไม่กี่แห่งที่ดำเนินกิจการตามร้านในเครือโยชิมุระยะดั้งเดิม[2]
อ้างอิง
- ↑ 1.0 1.1 1.2 井手隊長 (2017-05-19). "「家系」ラーメンブームで見落としがちな真実". 東洋経済オン��イン. สืบค้นเมื่อ 2017-05-20.
- ↑ 2.0 2.1 2.2 井手隊長 (2019-03-11). "「家系ラーメン」出身者が家系を名乗らない理由 ブームならぬ増殖でブランドが一般化した". 東洋経済オンライン. สืบค้นเมื่อ 2020-09-29.
- ↑ "王者「吉村家」を人気店、新業態店が猛追 独自の進化を遂げる横浜ラーメン最新事情". 横浜経済新聞. 2007-01-12.
- ↑ 4.0 4.1 「家系ラーメン 豚骨醤油 海外に広がる」読売新聞 2014年4月6日 朝刊 神奈川版 27面
- ↑ "王者「吉村家」を人気店、新業態店が猛追 独自の進化を遂げる横浜ラーメン最新事情". 横浜経済新聞. 2007-01-12.
- ↑ "家系一大勢力"壱系"の全貌が明かされる!? ~横浜の家系ラーメン全店制覇への道 其の四". はまれぽ.com. 2013-10-12. สืบค้นเมื่อ 2019-04-07.
- ↑ 「家系ラーメン 豚骨醤油 海外に広がる」読売新聞 2014年4月6日 朝刊 神奈川版 27面
- ↑ 横浜の家系ラーメン全店制覇への道〜家系図を作ろう〜 其の壱 はまれぽ.com