ไมค์ทองคำ
ไมค์ทองคำ (ชื่อเดิม: ชิงช้าสวรรค์ ไมค์ทองคำ) เป็นรายการประกวดร้องเพลงลูกทุ่ง ไม่จำกัดเพศและอายุ การศึกษา และอาชีพ โดยแยกรูปแบบออกมาจากรายการชิงช้าสวรรค์ ผลิตโดย บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน) ออกอากาศทางช่องเวิร์คพอยท์ หมายเลข 23 เริ่มออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2557[1] ปัจจุบันออกอากาศทุกวันเสาร์ เวลา 18.00 - 20.00 น.
ไมค์ทองคำ | |
---|---|
ประเภท | ประกวดร้องเพลง (ลูกทุ่ง) |
สร้างโดย | เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ |
พิธีกร | พัน พลุแตก |
กรรมการ | สลา คุณวุฒิ โน้ต เชิญยิ้ม สุนารี ราชสีมา |
ดนตรีแก่นเรื่องเปิด | ลาวดำเนินทราย ชะชะช่า |
ประเทศแหล่งกำเนิด | ไทย |
ภาษาต้นฉบับ | ไทย |
จำนวนฤดูกาล | 11 (ปกติ) 5 (เด็ก) 3 (สามวัย) |
ออกอากาศ | |
เครือข่าย | ช่องเวิร์คพอยท์ หมายเลข 23 |
ออกอากาศ | 5 เมษายน 2557 – ปัจจุบัน |
การแสดงที่เกี่ยวข้อง | |
ชิงช้าสวรรค์ ไมค์ทองคำเด็ก ไมค์ทองคำ หมอลำฝังเพชร ไมค์ทองคำ 3 ฤดู เพชรตัดเพชร |
รูปแบบและกติกาการแข่งขัน
แก้รายการเริ่มต้นโดยการรับสมัครผู้เข้าแข่งจากทั่วประเทศไทย โดยแบ่งออกเป็น 4 ช่วงในแต่ละภาค ได้แก่ ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคเหนือ และภาคใต้ โดยการคัดเลือก กรรมการสามคน คือ สลา คุณวุฒิ, สุนารี ราชสีมา และ บำเรอ ผ่องอินทรกุล จะเป็นผู้วิจารณ์และตัดสิน ผู้ผ่านการคัดเลือกจากแต่ละภาคเข้าร่วมแข่งขันร้องเพลง และแข่งขันกันอีกรอบเพื่อหาตัวแทน 16 คน มาแข่งในรอบสุดท้าย จนได้ผู้ชนะเลิศ รอบสุดท้ายการแข่งขันจะเป็นการประกวดร้องเพลงตาม รูปแบบเพลงที่กำหนด หลังสิ้นสุดการร้อง กรรมการจะวิจารณ์การร้อง รวมถึงการแสดงที่ผ่านมา ให้ผู้ชมทางบ้านทั้งประเทศส่งคะแนนเข้ามาผ่านทาง SMS เพื่อโหวต
พิธีกรและกรรมการ
แก้พิธีกร | ฤดูกาล | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 4 | ครั้งที่ 5 | ครั้งที่ 6 | ครั้งที่ 7 | ครั้งที่ 8 | 3ฤดู | ครั้งที่ 9 | ครั้งที่ 10 | สามวัย | สามวัย ครั้งที่ 2 | สามวัย ครั้งที่ 3 | |
พัน พลุแตก | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ |
- ช่วงที่เป็นพิธีกร
กรรมการ | ฤดูกาล | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ครั้งที่ 1 | ครั้งที่ 2 | ครั้งที่ 3 | ครั้งที่ 4 | ครั้งที่ 5 | ครั้งที่ 6 | ครั้งที่ 7 | ครั้งที่ 8 | 3ฤดู | ครั้งที่ 9 | ครั้งที่ 10 | สามวัย | สามวัย ครั้งที่ 2 | สามวัย ครั้งที่ 3 | |
สลา คุณวุฒิ (ครูสลา) | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ |
โน้ต เชิญยิ้ม | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ |
สุนารี ราชสีมา | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | |
ชุติเดช ทองอยู่ (ครูเทียม) | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ||||||
ฝน ธนสุนทร | ✔ | |||||||||||||
ศิรินทรา นิยากร | ✔ | ✔ | ✔ |
- ช่วงที่เป็นกรรมการ เฉพาะรอบชิงชนะเลิศ
ฤดูกาลและทำเนียบแชมป์
แก้ซีซั่น | ผู้เข้ารอบสุดท้าย | ของรางวัล |
---|---|---|
(5 เมษายน – 26 ตุลาคม พ.ศ. 2557) รวมทั้งหมด 29 ตอน |
1. รวมมิตร คงชาตรี (จ่อย) (แชมป์) [2][3] |
|
(1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 – 7 มิถุนายน พ.ศ. 2558) รวมทั้งหมด 63 ตอน |
1. ชัชรินทร์ บัวลาด (ตู๋หลู) (แชมป์)[5][6] |
|
(13 มิถุนายน พ.ศ. 2558 – 3 มกราคม พ.ศ. 2559) รวมทั้งหมด 59 ตอน |
1. สุพจน์ พลรัมย์ (กบ) (แชมป์)[7][8] |
|
(9 มกราคม – 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2559) รวมทั้งหมด 58 ตอน |
1. ปรัชญาลักษณ์ โชติวุฑฒินันท์ (ป๊อปปี้) (แชมป์)[9] |
|
(30 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 - 5 มีนาคม พ.ศ. 2560) รวมทั้งหมด 54 ตอน |
1. พีระพล สกุลตาล (โอ) (แชมป์)[11][12] |
|
(18 มีนาคม พ.ศ. 2560 – 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561) รวมทั้งหมด 88 ตอน |
1.อนันต์ อาศัยไพรพนา (นัน) (แชมป์)[13]
2. พลอยชมพู ลอมเศรษฐี (ปะแป้ง) (รองแชมป์อันดับ 1) |
|
(10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 – 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562) รวมทั้งหมด 110 ตอน |
1. ก้องสมุทร ศรีรักชาติ (ก้อง) (แชมป์)[14][15] |
|
(2 มีนาคม พ.ศ. 2562 – 12 มกราคม พ.ศ. 2563) รวมทั้งหมด 89 ตอน |
1. ชลพิพรรธณ์ ชูแสง (ฟอร์ม) (แชมป์)[16][17]
2. เขมจิรา วงษ์ทอง (หมิว) (รองแชมป์อันดับ 1) |
|
(18 มกราคม – 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563) รวมทั้งหมด 45 ตอน |
1. คฑาวุธ เถื่อนประยูร (เพชร) (แชมป์ 3 ฤดู และแชมป์ฤดูหนาว)[18]
2. นารีรัตน์ โพนกระโทก (โบว์) (รองแชมป์ 3 ฤดู อันดับ 1 และแชมป์ฤดูร้อน) |
แชมป์ประจำฤดูทั้ง 3 คน จะแข่งขันอีกครั้ง เพื่อชิงแชมป์ 3 ฤดู
|
(28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 – 25 ธันวาคม พ.ศ. 2564) รวมทั้งหมด 55 ตอน |
1. ปรีญานุช พร้อมสุข (ปุย) (แชมป์)[19]
2. กิตติศักดิ์ ทองเสม (กรุง) (รองแชมป์อันดับ 1) 3. สิปปกร ขุนกลางทับ (ไกด์) (รองแชมป์อันดับ 2) 4. กิตติศักดิ์ ขันสัมฤทธิ์ (ฟลุ๊ค) (รองแชมป์อันดับ 3) 5. เบญจวรรณ ทิพโพเมือง (เบญ) (รองแชมป์อันดับ 4) |
|
(1 มกราคม พ.ศ. 2565 – 7 มกราคม พ.ศ. 2566) รวมทั้งหมด 54 ตอน |
1. ยุทธการณ์ ปานเจริญ (ต้นตาล) (แชมป์)
2. พลอยสวย สกุลเทวาสถิตย์ (พลอย) (รองแชมป์อันดับ 1) |
|
(14 มกราคม พ.ศ. 2566 – 27 มกราคม พ.ศ. 2567) รวมทั้งหมด 54 ตอน
|
1. พีรสันต์ บุญท้าว (นนท์) (แชมป์วัยเด็ก) 2. เพิ่มพูนทรัพย์ สุนันตั๊ะ (เสือเงิน) (รองแชมป์วัยเด็กอันดับ 1)
1. ประสิทธิ์ สรภูมิ (อั๋น) (แชมป์วัยเก๋า) 2. พีรพล อ้นอิ่ม (ใส) (รองแชมป์วัยเก๋า อันดับ 1) 3. นพนันฐ์ วงศ์โชติ (เอกพงษ์) (รองแชมป์วัยเก๋า อันดับ 2)
1. ทศพร คำพลทัน (บิ๊ก) (แชมป์วัยรุ่น) 2. ระพีพัฒน์ สินวัฒน์ (ทรัพย์) (รองแชมป์วัยรุ่น อันดับ 1) 3. กฤติพงศ์ ปัจมนตรี (เติ้ล) (รองแชมป์วัยรุ่น อันดับ 2) |
|
(3 กุมภาพันธ์ – 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2567) รวมทั้งหมด 26 ตอน |
• วัยเด็ก
1. ชัยพัชร์ เฉยสูงเนิน (บาส) (แชมป์วัยเด็ก) 2. เพชรสุนันทา ศุภนาม (ปลาทู) (รองแชมป์วัยเด็ก อันดับ 1) • วัยเก๋า 1. บุญสืบ นิลคูหา (นิ่ม) (แชมป์วัยเก๋า) 2. สมปราชณ์ สุวรรณสาร (นิรันดร์) (รองแชมป์วันเก๋า อันดับ 1) • วัยรุ่น 1. บ๋อมบี่ บุตรนวลเจริญ (บ๋อม) (แชมป์วัยรุ่น) 2. พิมพ์พรรณ บุตรศรีภูมิ (พิมพ์) (รองแชมป์วัยรุ่น อันดับ 1) |
|
(3 สิงหาคม พ.ศ. 2567 - 4 มกราคม พ.ศ. 2568) รวมทั้งหมด 23 ตอน |
• วัยเก๋า
1. นิคม อ่อนชำนิ (เนตร) (แชมป์วัยเก๋า) 2. สุรินทร์ แก้วเกิด (นรินทร์) (รองแชมป์วันเก๋า อันดับ 1) • วัยเด็ก 1. 2. • วัยรุ่น 1. 2. |
|
อ้างอิง
แก้- ↑ ช่อง 1 เวิร์คพอยท์ ผุดรายการใหม่ “ชิงช้าสวรรค์ไมค์ทองคำ”
- ↑ "'จ่อย รวมมิตร' คว้าแชมป์คนแรก ไมค์ทองคำ หลังคนดูทั้งประเทศโหวตให้ 3 สัปดาห์ติด". dailynews. 2017-01-31.
- ↑ http://www.thairath.co.th/content/459269
- ↑ http://www.thairath.co.th/content/454791
- ↑ "ตู๋หลู ชัชรินทร์ บัวลาด คว้าแชมป์ "ชิงช้าสวรรค์ไมค์ทองคำครั้งที่ 2" - Workpoint". workpoint.co.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-10-20. สืบค้นเมื่อ 2021-12-09.
- ↑ "ตู๋หลู ชัชรินทร์แชมป์ไมค์ทองคำ2 รับรถกระบะมิตซูบิชิ ไทรทัน - Workpoint". www.workpoint.co.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-05-17. สืบค้นเมื่อ 2021-12-09.
- ↑ LTD, SIAMSPORT DIGITAL MEDIA CO. "กบสุพจน์หนุ่มสู้ชีวิตจากสระแก้วคว้าเงินล้านซิวแชมป์ไมค์ทองคำ3". siamdara.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-12-09. สืบค้นเมื่อ 2021-12-09.
- ↑ "มอบรถให้แชมป์ไมค์ทองคำ 3 - Workpoint". www.workpoint.co.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-01-22. สืบค้นเมื่อ 2021-12-09.
- ↑ "ป๊อปปี้ นักเรียนหญิง ม.5 คว้าแชมป์ไมค์ทองคำ 4". www.thairath.co.th. 2016-07-18.
- ↑ "เฟิร์น ไมค์ทองคำ 4 ในวันที่พ่อไม่อยู่". posttoday.com. 2016-09-11.
- ↑ "ไม่พลิกโผ!!! โอ พีระพล หนุ่มชาวไร่จากขอนแก่นคว้าแชมป์ "ไมค์ทองคำ5" - Workpoint". www.workpoint.co.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-10-20. สืบค้นเมื่อ 2021-12-09.
- ↑ "หนุ่มขอนแก่น "โอ พีระพล" คว้า "ไมค์ทองคำ ครั้งที่ 5"". mgronline.com. 2017-03-06.
- ↑ "คะแนนท่วมท้น คนไทยเทใจให้ "นัน อนันต์" คว้าแชมป์ "ไมค์ทองคำ6" - Workpoint". www.workpoint.co.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-09-18. สืบค้นเมื่อ 2021-12-09.
- ↑ ""ก้อง ก้องสมุทร" คว้าแชมป์ ไมค์ทองคำ คนที่ 7". workpointTODAY.
- ↑ "หนุ่มหมอลำสระแก้ว คว้าแชมป์ไมค์ทองคำคนที่7". dailynews. 2019-02-26.
- ↑ ""ฟอร์ม ชลพิพรรธน์" คว้าแชมป์ "ไมค์ทองคำ" คนที่ 8 - Workpoint". www.workpoint.co.th. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-10-19. สืบค้นเมื่อ 2021-12-09.
- ↑ Ltd.Thailand, VOICE TV. "ชีวิตต้องสู้ของ 'ฟอร์ม' แชมป์ไมค์ทองคำ 8 เคยลำบากหนักถึงขนาดไม่มีเงินกินข้าว". VoiceTV.
- ↑ แชมป์ "ไมค์ทองคำ3ฤดู" / เพชร คฑาวุธ, สืบค้นเมื่อ 2021-12-09
- ↑ "ไมค์ทองคำ - ขอแสดงความยินดีกับ "ปุย ปรีญานุช พร้อมสุข" แชมป์ "ไมค์ทองคำ" คนที่ 9 ของประเทศไทย 🎉🎉🎉 🎙 #ไมค์ทองคำ9 #WorkPoint23 | Facebook". th-th.facebook.com.