แรงลอยตัว
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
ในทางฟิสิกส์ แรงลอยตัว คือแรงกระทำในทิศทางพุ่งขึ้นที่ของเหลวต่อต้านต่อน้ำหนักของวัตถุ ถ้ามองของไหลในแนวดิ่ง ความดันจะเพิ่มขึ้นตามระดับความลึกอันเป็นผลจากน้ำหนักของของไหลที่อยู่ชั้นบน ๆ ดังนั้นในแท่งของไหลหนึ่ง ๆ หรือวัตถุที่จมอยู่ในของเหลวนั้นในระดับลึก จะพบกับความดันที่มากกว่าเมื่ออยู่ที่ระดับตื้น ความแตกต่างของความดันนี้เป็นผลจากแรงสุทธิที่มีแนวโน้มผลักดันวัตถุให้ขึ้นไปข้างบน ขนาดของแรงนั้นเท่ากับความแตกต่างของความดันระหว่างจุดบนกับจุดล่างสุดของแท่งของเหลวนั้น ซึ่งเท่ากับน้ำหนักของของเหลวที่อยู่ในแท่งของเหลวนั้นด้วย ด้วยเหตุนี้ วัตถุที่มีความหนาแน่นมากกว่าของเหลวจะมีแนวโน้มที่จะจมลงไป ถ้าวัตถุมีความหนาแน่นน้อยกว่าของเหลว หรือมีรูปร่างที่เหมาะสม (เช่น การเรือ, การบิน, การอวกาศ) แรงนั้นจะสามารถทำให้วัตถุลอยตัวอยู่ได้
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Falling in Water
- Archimedes' Principle – background and experiment
- BuoyancyQuest (a website featuring buoyancy control videos)