แคลเซียมไฮดรอกไซด์
แคลเซียมไฮดรอกไซด์ (อังกฤษ: calcium hydroxide) เป็นสารประกอบอนินทรีย์ที่มีสูตรเคมีคือ Ca(OH)2 ลักษณะเป็นผลึกไม่มีสีหรือผงสีขาว ได้จากการเจือจางแคลเซียมออกไซด์กับน้ำ สารละลายอิ่มตัวของแคลเซียมไฮดรอกไซด์ รู้จักในชื่อน้ำปูนใส
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC name
Calcium hydroxide
| |
ชื่ออื่น
| |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
ChEBI | |
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.013.762 |
EC Number |
|
เลขอี | E526 (acidity regulators, ...) |
846915 | |
KEGG | |
ผับเคม CID
|
|
RTECS number |
|
UNII | |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
Ca(OH)2 | |
มวลโมเลกุล | 74.093 g/mol |
ลักษณะทางกายภาพ | ผงสีขาว |
กลิ่น | ไม่มีกลิ่น |
ความหนาแน่น | 2.211 g/cm3, solid |
จุดหลอมเหลว | 580 องศาเซลเซียส (1,076 องศาฟาเรนไฮต์; 853 เคลวิน) (สูญเสียน้ำ, สลายตัว) |
| |
Solubility product, Ksp | 5.02×10−6 [1] |
ความสามารถละลายได้ |
|
pKa | 12.63 (first OH−), 11.57 (second OH−)[2][3] [โปรดขยายความ] |
−22.0·10−6 cm3/mol | |
ดัชนีหักเหแสง (nD)
|
1.574 |
โครงสร้าง | |
Hexagonal, hP3[4] | |
P3m1 No. 164 | |
a = 0.35853 nm, c = 0.4895 nm
| |
อุณหเคมี | |
Std molar
entropy (S⦵298) |
83 J·mol−1·K−1[5] |
Std enthalpy of
formation (ΔfH⦵298) |
−987 kJ·mol−1[5] |
ความอันตราย | |
GHS labelling: | |
อันตราย | |
H314, H335, H402 | |
P261, P280, P305+P351+P338 | |
NFPA 704 (fire diamond) | |
จุดวาบไฟ | ไม่ติดไฟ |
ปริมาณหรือความเข้มข้น (LD, LC): | |
LD50 (median dose)
|
7340 mg/kg (หนู (rat), ทางปาก) 7300 mg/kg (หนู (mouse)) |
NIOSH (US health exposure limits): | |
PEL (Permissible)
|
TWA 15 mg/m3 (ทั้งหมด) 5 mg/m3 (ไอระเหย)[7] |
REL (Recommended)
|
TWA 5 mg/m3[7] |
IDLH (Immediate danger)
|
N.D.[7] |
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS) | [6] |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
แคทไอออนอื่น ๆ
|
แมกนีเซียมไฮดรอกไซด์ สตรอนเชียมไฮดรอกไซด์ แบเรียมไฮดรอกไซด์ |
เบสที่เกี่ยวข้อง
|
แคลเซียมออกไซด์ |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
การใช้
แก้แคลเซียมไฮดรอกไซด์ทำให้สิ่งสกปรกในน้ำตกตะกอน จึงใช้ในการบำบัดน้ำเสีย รวมถึงใช้ในการเตรียมก๊าซแอมโมเนีย ตามปฏิกิริยา:
Ca(OH)2 + 2NH4Cl → 2NH3 + CaCl2 + 2H2O
แคลเซียมไฮดรอกไซด์มีความเป็นพิษต่ำ จึงใช้ในอุตสาหกรรมอาหารหลายชนิด เช่น การทำแตงกวาดอง การทำไข่เยี่ยวม้าและใช้แทนโซดาทำขนมในการทำปาปาดัม
ชนพื้นเมืองอเมริกาเหนือนิยมเคี้ยวใบโคคากับแคลเซียมไฮดรอกไซด์ที่ได้จากการเผาเปลือกหอย เช่นเดียวกับการเคี้ยวหมากและพลูที่มีแคลเซียมไฮดรอกไซด์เพื่อเสริมฤทธิ์สารกระตุ้นของชาวเอเชีย
แคลเซียมไฮดรอกไซด์ก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง จึงควรใช้อย่างระมัดระวัง[8]
อ้างอิง
แก้- ↑ John Rumble (June 18, 2018). CRC Handbook of Chemistry and Physics (ภาษาอังกฤษ) (99 ed.). CRC Press. pp. 5–188. ISBN 978-1138561632.
- ↑ "Sortierte Liste: pKb-Werte, nach Ordnungszahl sortiert. – Das Periodensystem online".
- ↑ ChemBuddy dissociation constants pKa and pKb
- ↑ Petch, H. E. (1961). "The hydrogen positions in portlandite, Ca(OH)2, as indicated by the electron distribution". Acta Crystallographica. 14 (9): 950–957. doi:10.1107/S0365110X61002771.
- ↑ 5.0 5.1 Zumdahl, Steven S. (2009). Chemical Principles 6th Ed. Houghton Mifflin Company. p. A21. ISBN 978-0-618-94690-7.
- ↑ "MSDS Calcium hydroxide" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 25 March 2012. สืบค้นเมื่อ 2011-06-21.
- ↑ 7.0 7.1 7.2 NIOSH Pocket Guide to Chemical Hazards. "#0092". National Institute for Occupational Safety and Health (NIOSH).
- ↑ "Calcium hydroxide - MSDS - P & B Lime Works" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-09-09. สืบค้นเมื่อ 2016-10-01.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ แคลเซียมไฮดรอกไซด์
- Calcium hydroxide - MSDS - ScienceLab