อักษรรัญชนา (रंजना, Rañjanā) หรือกูติลา หรือลันต์ซา (Lantsa) เป็นอักษรที่พัฒนามาจากอักษรพราหมี เมื่อราว พ.ศ. 1600 และใช้มาจนถึงราว พ.ศ. 2500 ในอินเดียและเนปาล ชาวทิเบตเรียกอักษรนี้ว่าลันต์ซา ใช้เขียนภาษาสันสกฤตก่อนจะแปลเป็นภาษาทิเบต ชาวทิเบตเลิกใช้อักษรนี้เมื่อถูกจีนยึดครอง นอกจากนี้ มีการใช้อักษรนี้ในหมู่ชาวพุทธในจีน มองโกเลีย และญี่ปุ่น

อักษรรัญชนา
ชนิด
ช่วงยุค
ป. ค.ศ. 1100-ปัจจุบัน
ทิศทางซ้ายไปขวา Edit this on Wikidata
ภูมิภาคเนปาล, อินเดีย
ภาษาพูดภาษาเนวาร์, ภาษาสันสกฤต, ภาษาทิเบต
อักษรที่เกี่ยวข้อง
ระบบแม่
ระบบลูก
อักษรโซยอมโบ
ระบบพี่น้อง
อักษรภูชิโมล, อักษรปรัจลิต
 บทความนี้ประกอบด้วยสัญกรณ์การออกเสียงในสัทอักษรสากล (IPA) สำหรับคำแนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับสัญลักษณ์ IPA โปรดดู วิธีใช้:สัทอักษรสากล สำหรับความแตกต่างระหว่าง [ ], / / และ ⟨ ⟩ ดูที่ สัทอักษรสากล § วงเล็บเหลี่ยมและทับ

ใช้เขียน

แก้

พยัญชนะ

แก้
 
มนตร์ที่เขียนด้วยอักษรรัญชนาบนเพดานของวัดแห่งหนึ่งใน เทียนจิน, จีน
 
Rañjanā "Oṃ" syllables surrounding the implements of the Four Heavenly Kings. Jing'an Temple, Shanghai, China.
 
Sanskrit manuscript in the Rañjanā script. Aṣṭasāhasrikā Prajñāpāramitā Sūtra, India, 12th century.
รัสสระ   a -   i -ิ इ   u -ุ उ   ṛ ฤ ऋ   ḷ ฦ ऌ   e เ-ะ ए   o โ-ะ ओ
ทีฆสระ   ā -   ī -ี ई   ū -ู ऊ   ṝ ฤๅ ॠ   ḹ ฦๅ ॡ   ai ไ- ऐ   au เ-า औ
  aṃ ํ अं   aḥ -ะฮ์ अः
  k क   kh ख   g ग   gh घ   ṅ ङ
  c च   ch छ   j ज   jh झ   ñ ञ
  ṭ ट   ṭh ठ   ḍ ड   ḍh ढ   ṇ ण
  t त   th थ   d द   dh ध   n न
  p प   ph फ   b ब   bh भ   m म
  y य   r र   l ल   v व
  ś श   ṣ ष   s स   h ह
  kṣ क्ष   tr त्र   jñ ज्ञ

อ้างอิง

แก้