ลำไส้เล็กส่วนต้น

ลำไส้ส่วนต้นหรือดูโอดีนัม (อังกฤษ: Duodenum) เป็นลำไส้เล็กส่วนแรกในสัตว์มีกระดูกสันหลังชั้นสูงส่วนใหญ่ รวมถึงสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์ปีก ในปลา ส่วนของลำไส้เล็กนั้นไม่ชัดเจน และอาจใช้คำว่า ลำไส้เล็กหน้าหรือลำไส้เล็กต้น (proximal intestine) แทน[2] ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ลำไส้เล็กส่วนต้นอาจเป็นที่ดูดซึมเหล็กหลัก[3]

ลำไส้เล็กส่วนต้น
แผนภาพของทางเดินอาหารของมนุษย์ เน้นลำไส้เล็กส่วนต้น
รายละเอียด
คัพภกรรมForegut (ส่วนที่ 1 และ 2), Midgut (ส่วนที่ 3 และ 4)
ระบบระบบย่อยอาหาร
หลอดเลือดแดงหลอดเลือดแดงตับอ่อน-ลำไส้เล็กส่วนต้นล่าง (inferior pancreaticoduodenal artery), หลอดเลือดแดงตับอ่อน-ลำไส้เล็กส่วนต้นบน (superior pancreaticoduodenal artery)
หลอดเลือดดำหลอดเลือดดำตับอ่อน-ลำไส้เล็กส่วนต้น (pancreaticoduodenal veins)
ประสาทปมประสาทท้อง (celiac ganglia), เวกัส [1]
ตัวระบุ
ภาษาละตินIntestinum duodenum
MeSHD004386
TA98A05.6.02.001
TA22944
FMA7206
อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์

ลำไส้เล็กส่วนต้นอยู่ก่อนลำไส้เล็กส่วนกลาง (jejunum) และลำไส้เล็กส่วนปลาย (ileum) และเป็นลำไส้เล็กส่วนที่สั้นที่สุด เป็นที่ที่เกิดการย่อยเชิงเคมีมากที่สุด[4]

อ้างอิง

แก้
  1. สื่อด้านสรีรวิทยาของวิทยาลัยแพทยศาสตร์แห่งจอร์เจีย (MCG) 6/6ch2/s6ch2_30(อังกฤษ)
  2. Guillaume, Jean; Praxis Publishing; Sadasivam Kaushik; Pierre Bergot; Robert Metailler (2001). Nutrition and Feeding of Fish and Crustaceans. Springer. p. 31. ISBN 978-18-5233-241-9. สืบค้นเมื่อ 2009-01-09.
  3. Latunde-Dada GO; Van der Westhuizen J; Vulpe CD; และคณะ (2002). "Molecular and functional roles of duodenal cytochrome B (Dcytb) in iron metabolism". Blood Cells Mol. Dis. 29 (3): 356–60. doi:10.1006/bcmd.2002.0574. PMID 12547225. {{cite journal}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |author-separator= ถูกละเว้น (help)
  4. "Duodenal Anatomy".