รายชื่อสนามฟุตบอลในประเทศไทย

บทความรายชื่อวิกิมีเดีย

นี่คือ รายชื่อสนามฟุตบอลในประเทศไทย ที่มีความจุมากกว่า 5,000 ที่นั่งเป็นต้นไป สโมสรที่แข่งขันในระดับที่ 1-3 (ไทยลีกถึงไทยลีก 3) ของระบบลีกฟุตบอลไทยและใช้สนามดังกล่าวในฤดูกาล 2565–66 จะแสดงในคอลัมน์ "ผู้ใช้งานหลัก" ในขณะที่สโมสรที่เคยใช้งานสนามในอดีตเพื่อแข่งขันในระดับที่ 1-3 ไม่ว่าจะยังคงแข่งในฤดูกาล 2565–66 หรือไม่ก็ตามจะแสดงในคอลัมน์ "ผู้ใช้งานในอดีต"

สนามในปัจจุบัน

แก้
# รูป สนาม ความจุ ที่ตั้ง ปี พ.ศ.
เปิด
ผู้ใช้งานหลัก ผู้ใช้งานในอดีต
1   ราชมังคลากีฬาสถาน 51,552 กรุงเทพมหานคร (บางกะปิ) 2541 ฟุตบอลทีมชาติไทย
2   สนามกีฬาติณสูลานนท์ 45,000 สงขลา 2538 สงขลา (ที3) วัวชน ยูไนเต็ด
สงขลา ยูไนเต็ด
3   ช้างอารีนา[note 1][note 2][note 3] 32,600[1] บุรีรัมย์ 2554 บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด (ที1) บุรีรัมย์ เอฟซี
บุรีรัมย์ พีอีเอ
4   สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 28,141 นครราชสีมา 2550 นครราชสีมา มาสด้า (ที1)
5   สนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิต 25,000 ปทุมธานี 2555 แบงค็อก ยูไนเต็ด (ที1) โดม[note 4]
6   สนามกีฬากลางจังหวัดสุพรรณบุรี 25,000 สุพรรณบุรี 2490 สุพรรณบุรี (ที2)
7   สนามกีฬากองทัพอากาศ (ธูปะเตมีย์) 25,000 ปทุมธานี (ลำลูกกา) ทหารอากาศ (ที3) เกร็กคู ลูกทัพฟ้า ปทุมธานี[note 5]
แอร์ฟอร์ซ ยูไนเต็ด
8   สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี 25,000 เชียงใหม่ (แม่ริม) 2538 เชียงใหม่ ยูไนเต็ด (ที2)| เชียงใหม่[note 6]
ทีทีเอ็ม เชียงใหม่
9   สนามกีฬาจิระนคร 25,000 สงขลา (หาดใหญ่) 2487 - 10   สนามกีฬาจุฬาลงกรณ��มหาวิทยาลัย ประมาณ 20,000—25,000[2] กรุงเทพมหานคร (ปทุมวัน) จามจุรี ยูไนเต็ด (ที3)
11   สนามกีฬากองทัพบก 20,000 กรุงเทพมหานคร (พญาไท) 2555 อาร์มี่ ยูไนเต็ด, ทหารบก (ที3)
12   สนามศุภชลาศัย 19,793 กรุงเทพมหานคร (ปทุมวัน) 2478 ฟุตบอลทีมชาติไทย
13   บีจีสเตเดียม[note 1][note 2][note 3] 15,114 ปทุมธานี (ธัญบุรี) 2553 บีจี ปทุม ยูไนเต็ด (ที1) บีจีซี
14   ธันเดอร์โดมสเตเดียม[note 1] 15,000 นนทบุรี (ปากเกร็ด) 2541 เมืองทอง ยูไนเต็ด (ที1)
ทีโอที
อัสสัมชัญ ยูไนเต็ด[note 7]บางกอก (ที3)
15   สนามกีฬาสุระกุล 15,000 ภูเก็ต ภูเก็ต อันดามัน (ที3) ภูเก็ต
ภูเก็ต ซิตี้
16   พิจิตร สเตเดียม 15,000 พิจิตร พิจิตร (เซมิโปรลีก) ทีทีเอ็ม พิจิตร
17   สนามกีฬากลางจังหวัดนครสวรรค์ 15,000 นครสวรรค์ นครสวรรค์ (เซมิโปรลีก)
18   เขากระโดง สเตเดียม 14,000 บุรีรัมย์ 2553 บุรีรัมย์
บุรีรัมย์ พีอีเอ[note 8]
19   สนามกีฬาจังหวัดกาญจนบุรี 13,000 กาญจนบุรี 2552 ทีโอที
เมืองกาญจน์ ยูไนเต็ด
20   ราชบุรีสเตเดียม[note 1][note 2][note 3] 13,000 ราชบุรี 2559 ราชบุรี (ที1)
21   สนามกีฬาราชนาวี สัตหีบ 12,500 ชลบุรี (สัตหีบ) 2544 ราชนาวี (ที3)
นาวิกโยธิน (ที3)
กองเรือยุทธการ[note 9]
22   แพตสเตเดียม[note 1] 12,308 กรุงเทพมหานคร (คลองเตย) 2510 การท่าเรือ (ที1) บีซีซี[note 4]
23   พีทีทีสเตเดียม[note 1] 13,767[3] ระยอง 2555 พีทีที ระยอง
24   สนามกีฬากลางจังหวัดชัยนาท (เขาพลองสเตเดียม)[note 1] 12,000 ชัยนาท 2555 ชัยนาท ฮอร์นบิล (ที2)
25   สนามกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตชลบุรี 12,000 ชลบุรี 2553 ชลบุรี[note 10]
พัทยา ยูไนเต็ด[note 10]
พานทอง[note 11]
เพื่อนตำรวจ[note 12]
ราชนาวี[note 10]
26   สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น 12,000 ขอนแก่น ขอนแก่น ยูไนเต็ด (ที1)

ขอนแก่น (ที3)


27 พิชญสเตเดียม[note 1][note 2][4][5] 12,000 หนองบัวลำภู 2563 หนองบัว พิชญ (ที2)
28   ลีโอ เชียงราย สเตเดียม[note 1][note 2] 11,354 เชียงราย 2555 สิงห์ เชียงราย ยูไนเต็ด (ที1)
29 ช้าง ฟุตบอล ปาร์ค[note 1] 11,000 ชลบุรี (บ้านบึง) 2566 บ้านบึง (เซมิโปรลีก)
30   สนามฟุตบอล ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) 10,320 กรุงเทพมหานคร (ดินแดง) 2525
31   สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา 10,000 กรุงเทพมหานคร (มีนบุรี) 2553 เอยูยู อินเตอร์ แบงค็อก (ที3) ไทยฮอนด้า
บีอีซี เทโรศาสน
32   สนามกีฬากลางจังหวัดราชบุรี 10,000 ราชบุรี ราชบุรี มิตรผล
33   สนามศรีนครลำดวน 10,000 ศรีสะเกษ ศรีสะเกษ (ที3)
ศรีสะเกษ ยูไนเต็ด (ที3)
34 สนามกีฬากลางจังหวัดนนทบุรี 10,000 นนทบุรี สยาม (ที3)

นนทบุรี ยูไนเต็ด (ที3)

นนทบุรี
35   สนามทุ่งบูรพา 10,000 อุบลราชธานี อีสาน ยูไนเต็ด
อุบล ยูไนเต็ด
36 สนามกีฬากลางจังหวัดอุดรธานี 10,000 อุดรธานี 2562 อุดรธานี (ทีเอ)
37   ชลบุรีสเตเดียม 8,500 ชลบุรี 2553 ชลบุรี (ที1)
38   สนามกีฬากลางจังหวัดสุราษฎร์ธานี 8,000 สุราษฎร์ธานี เมืองคนดี ยูไนเต็ด (ที3)
39   สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ บางมด 8,000 กรุงเทพมหานคร (ทุ่งครุ) 2532 บางกอก (ที3)
40   สนามทะเลหลวง[note 1] 8,000 สุโขทัย 2557 สุโขทัย (ที1)
41   สนามกีฬากลางจังหวัดกระบี่ 8,000 กระบี่ กระบี่ (ที2)
42 สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดนราธิวาส 8,000 นราธิวาส นรา ยูไนเต็ด (ที3)
43   สนามกีฬาจังหวัดปัตตานี (เรนโบว์สเตเดียม) 8,000 ปัตตานี ปัตตานี (ที3)
44 สนามกีฬากลางจังหวัดพัทลุง 8,000 พัทลุง พัทลุง (ที3)
45   ระยองสเตเดียม 7,500 ระยอง ระยอง (ที2)
46 สนามกีฬากลางจังหวัดระนอง 7,212 ระนอง แกรนด์ อันดามัน ระนอง ยูไนเต็ด (ที2)
47   สนามกีฬากลางจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ (สามอ่าวสเตเดียม) 7,000 ประจวบคีรีขันธ์ พีที ประจวบ (ที1)
48   สนามกีฬาการกีฬาแห่งประเทศไทย บางพลี 6,800 สมุทรปราการ (บางพลี) 2558 สมุทรปราการ ซิตี้ (ที2)
โบลาเวน สมุทรปราการ (ที3)
ซุปเปอร์พาวเวอร์ สมุทรปราการ
49 สนามกีฬากลางจังหวัดเพชรบุรี 6,575 เพชรบุรี เพชรบุรี
50 สนามกีฬากลางจังหวัดอ่างทอง 6,500 อ่างทอง อ่างทอง (ที3)
51 สนามกีฬามหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตสมุทรสาคร 6,378 สมุทรสาคร ทวีวัฒนา สมุทรสาคร ยูไนเต็ด (ที3)
52   สนามฟุตบอลเทพหัสดิน 6,378 กรุงเทพมหานคร (ปทุมวัน) บีอีซี เทโรศาสน[note 10]
53 สนามกีฬากลางจังหวัดหนองบัวลำภู 6,053 หนองบัวลำภู หนองบัว พิชญ
54   สนามกีฬากลางจังหวัดสระบุรี 6,000 สระบุรี สระบุรี ยูไนเต็ด (ที3) สระบุรี
สระบุรี ทีอาร์ยู
55 สนามกีฬาศูนย์เยาวชนเฉลิมพระเกียรติ นนทบุรี 6,000 นนทบุรี ลูกอีสาน[note 11]
56   สนามกีฬากลางจังหวัดสมุทรสงคราม 6,000 สมุทรสงคราม สมุทรสงคราม (ที3)
57   สนามกีฬาโรงเรียนกีฬาเทศบาลนครนครปฐม 6,000 นครปฐม นครปฐม ยูไนเต็ด (ที1)
58   สนามกีฬาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 6,000 พระนครศรีอยุธยา อยุธยา ยูไนเต็ด (ที2) อยุธยา[note 13]
59   สนามกีฬากลางจังหวัดตราด 6,000 ตราด ตราด (ที1)
60 สนามกีฬาเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา[note 1] 6,000 ฉะเชิงเทรา ฉะเชิงเทรา ไฮ-เทค (ที3)
61 สนามเทศบาลหนองปรือ 2 6,000 ชลบุรี (บางละมุง)
62 สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดพะเยา 6,000 พะเยา พะเยา[note 4]
63 สนามเทศบาลเมืองกาฬสินธุ์ 6,000 กาฬสินธุ์ กาฬสินธุ์[note 11]
64 สนามกีฬาศักดิเดชน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี 6,000 จันทบุรี เกาะขวาง (ที3)
65 สนามกีฬาพระราชวังสนามจันทร์ 6,000 นครปฐม
66   ยูเอ็มที สเตเดียม[note 1] 6,000 อุบลราชธานี 2560 อุบล ยูไนเต็ด
67   สนามกีฬาศรีณรงค์ 5,673 สุรินทร์ 2537 สุรินทร์ ซิตี้ (ที3)
68   สนามกีฬาหนองปรือ[note 1] 5,500 จังหวัดชลบุรี (บางละมุง) 2542 พัทยา ดอลฟินส์ ยูไนเต็ด (ที2) พัทยา
พัทยา ยูไนเต็ด
69   สนามกีฬาจังหวัดลำปาง 5,500 ลำปาง ลำปาง (ที2)
70 ลำพูน วอร์ริเออร์ สเตเดียม[note 1][note 2] 5,400 ลำพูน 2567 ลำพูน วอร์ริเออร์ (ที1)
71   สนามกีฬาสิรินธร 5,207 ชลบุรี (ศรีราชา) ชลบุรี[note 10]
72   สนามทีโอที แจ้งวัฒนะ[note 1] 5,000 กรุงเทพมหานคร (หลักสี่) 2553 ทีโอที
เกษตรศาสตร์
ราชประชา
73 สนามกีฬามหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี[note 1] 5,000 กรุงเทพมหานคร (ทวีวัฒนา) บีทียู ส.บุญมีฤทธิ์ ยูไนเต็ด
74 สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา บางบอน 5,000 กรุงเทพมหานคร (บางบอน) ธนบุรี ซิตี้[note 4]
75   สนามบุณยะจินดา 5,000 กรุงเทพมหานคร (หลักสี่) 2505 โปลิศ เทโร (ที1) เพื่อนตำรวจ
ยาสูบ
ราชวิถี
76 สนามกีฬาจังหวัดเชียงราย 5,000 เชียงราย เชียงราย ซิตี้ (ที3)
77   สนามกีฬาหนองจอก[note 1] 5,000 กรุงเทพมหานคร (หนองจอก)
78 สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ 60 พรรษา 5,000 ปทุมธานี (ธัญบุรี) รังสิต ยูไนเต็ด
79 สนามกีฬามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร 5,000 กรุงเทพมหานคร (หนองจอก)

สนามที่กำลังก่อสร้าง

แก้
# รูป สนาม ความจุ ที่ตั้ง คาดการ
ปี พ.ศ. เปิด
ผู้ใช้งานหลัก
1 ศูนย์กีฬาภาคตะวันออก[6] 20,000 ชลบุรี (บางละมุง) 2568
หมายเหตุ
  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 1.13 1.14 1.15 1.16 1.17 สนามฟุตบอลเต็มรูปแบบ ไม่มีลู่วิ่ง
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 สนามฟุตบอลที่มีสโมสรฟุตบอลเป็นเจ้าของ
  3. 3.0 3.1 3.2 สนามฟุตบอลที่ได้มาตรฐานฟีฟ่า
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 สโมสรแข่งขันในไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก
  5. ใช้สนามเกร็กคู สายไหมในฤดูกาล 2563
  6. ใช้สนามกีฬาเทศบาลนครเชียงใหม่ในฤดูกาล 2563
  7. ใช้สนามกีฬาว่องประชานุกูล โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรีในฤดูกาล 2563
  8. ใช้ช้างอารีนาในฤดูกาล 2563
  9. ใช้สนามกีฬากองเรือยุทธการ (แบตเทิลชิปสเตเดียม) ในฤดูกาล 2563
  10. 10.0 10.1 10.2 10.3 10.4 ใช้สนามชั่วคราวระหว่างสนามเหย้าของสโมสรกำลังปรับปรุง
  11. 11.0 11.1 11.2 ตกชั้นจากไทยลีก 4 ฤดูกาล 2562
  12. ใช้สนามชั่วคราวเนื่องจากอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554
  13. ใช้สนามกีฬาโรงเรียนอุดมศีลวิทยา (อยุธยา เอฟซี สเตเดียม) ในฤดูกาล 2563

อ้างอิง

แก้

ดูเพิ่ม

แก้