รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน (เอ็มทีอาร์)
รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน (เอ็มทีอาร์) เส้นทางรถไฟฟ้าสายหนึ่งของระบบเอ็มทีอาร์ ในฮ่องกง เชื่อมต่อระหว่างใจกลางนครฮ่องกงกับท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง (เป็นเส้นทางเดียวที่เชื่อมต่อ) โดยเส้นทางนี้ไม่ถูกนับว่าเป็นเส้นทางรถไฟใต้ดินเหมือนเส้นทางอื่น ๆ ความถี่ในการเดินรถปกติทุก ๆ 10 นาที และกลางคืน 12 นาที ความเร็ว 130 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ใช้เวลาในการเดินทาง 24 นาที
เชื่อมท่าอากาศยาน 機場快綫 | |||
---|---|---|---|
รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานใกล้ซันนี่เบย์มุ่งหน้าสู่ฮ่องกง | |||
ข้อมูลทั่วไป | |||
สถานะ | เปิดให้บริการ | ||
เจ้าของ | เอ็มทีอาร์ คอร์ปอเรชัน | ||
ที่ตั้ง | กลางและตะวันตก, เยาจิมหมง, ไควซิง, ไอส์แลนด์ ฮ่องกง | ||
ปลายทาง | |||
เชื่อมต่อกับ | |||
เคยเชื่อมต่อกับ | |||
จำนวนสถานี | 5 | ||
สีบนแผนที่ | ทีล (#00888A) | ||
การดำเนินงาน | |||
รูปแบบ | รถไฟเชื่อมท่าอากาศยาน | ||
ระบบ | เอ็มทีอาร์ | ||
ผู้ดำเนินงาน | เอ็มทีอาร์ คอร์ปอเรชัน | ||
ศูนย์ซ่อมบำรุง | ซิ่วโฮวาน | ||
ขบวนรถ | Adtranz–CAF EMU | ||
ผู้โดยสาร | 54,033 เฉลี่ยรายวัน (เมษายน 2019)[1] | ||
ประวัติ | |||
เปิดเมื่อ | 6 กรกฎาคม 1998 | ||
ส่วนต่อขยายล่าสุด | 20 ธันวาคม 2005 | ||
ข้อมูลทางเทคนิค | |||
ระยะทาง | 35.2 km (21.9 mi)[2] | ||
รางกว้าง | 1,432 mm (4 ft 8 3⁄8 in) | ||
ระบบจ่ายไฟ | 1,500 V DC (เหนือหัว) | ||
ความเร็ว | 135 km/h (84 mph) | ||
อาณัติสัญญาณ | Advanced SelTrac CBTC (อนาคต)[3] | ||
ระบบป้องกันของขบวนรถ | SACEM (แทนที่) | ||
|
สถานี
แก้สี | ชื่อสถานี | ภาพถ่าย | การเชื่อมต่อ | เปิดบริการ | เขต | |
---|---|---|---|---|---|---|
ภาษาไทย | ภาษาจีน | |||||
รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน (AEL) | ||||||
ฮ่องกง | 香港 | สายตงหย่ง สายเฉวียนวัน (กลาง) สายไอส์แลนด์ (กลาง) |
6 กรกฎาคม 1998 | กลางและตะวันตก | ||
เกาลูน | 九龍 | สายตงหย่ง สายถวนมา (ออสติน) ฮ่องกงเกาลูนตะวันตก: เอ็มทีอาร์ รถไฟความเร็วสูง ขบวนมุ่งหน้าจีนแผ่นดินใหญ่ |
เยาจิมหมง | |||
ชิงยี | 青衣 | สายตงหย่ง | ไควซิง | |||
ท่าอากาศยาน | 機場 | ท่าอากาศยานนานาชาติฮ่องกง | ไอส์แลนด์ | |||
เอเชียเวิลด์–เอ็กซ์โปร | 博覽館 | — | 20 ธันวาคม 2005 | |||
แผนที่เครือข่ายเส้นทาง
แก้
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ "Patronage Updates". Mass Transit Railway Corporation. สืบค้นเมื่อ 17 June 2019.
- ↑ "Business Overview" (PDF). July 2021. p. 5. สืบค้นเมื่อ 2022-08-05.
- ↑ "Alstom and Thales to supply advanced CBTC signalling system to Hong Kong's seven metro lines". RailwayPRO. 2015-01-26. สืบค้นเมื่อ 2022-08-17.
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อที่เกี่ยวข้องกับ รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยาน (เอ็มทีอาร์)