ยูฟ่ายูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศ 2022

ยูฟ่ายูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศ 2022 เป็นการแข่งขันฟุตบอลนัดชิงชนะเลิศของยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2021–22 ฤดูกาลที่ 51 ของการแข่งขันฟุตบอลสโมสรลำดับที่สองของยุโรป จัดขึ้นโดยยูฟ่า และเป็นฤดูกาลที่ 13 นับตั้งแต่เปลี่ยนชื่อจากยูฟ่าคัพมาเป็นยูฟ่ายูโรปาลีก นัดนี้จะลงเล่นในวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 (ค.ศ. 2022) ที่ รามอน ซันเชซ ปิซฆวน ในเมือง เซบิยา ประเทศสเปน.[5] ระหว่างสโมสรจากเยอรมัน ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท และสโมสรจากสกอตแลนด์ เรนเจอส์.

ยูฟ่ายูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศ 2022
รามอน ซันเชซ ปิซฆวน ใน เซบิยา จะเป็นเจ้าภาพนัดชิงชนะเลิศ
รายการยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2021–22
หลัง ต่อเวลาพิเศษ
ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท ชนะ ลูกโทษ 5–4
วันที่18 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 (2022-05-18)
สนามรามอน ซันเชซ ปิซฆวน, เซบิยา
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
เควิน ทรัพ (ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท)[1]
ผู้ตัดสินสลัฟคอ วินชิช (สโลวีเนีย)[2]
ผู้ชม38,842 คน[3]
สภาพอากาศกลางคืนมีเมฆเป็นบางส่วน
31 องศาเซลเซียส (88 องศาฟาเรนไฮต์)
32% ความชื้นสัมพัทธ์[4]
2021
2023

ทีม

แก้

ในตารางด้านล่างนี้, นัดชิงชนะเลิศจนถึงปี ค.ศ. 2009 เป็นยุคยูฟ่าคัพ, นับตั้งแต่ปี ค.ศ. 2010 เป็นยุคยูฟ่า��ูโรปาลีก.

ทีม จำนวนการลงสนามรอบชิงชนะเลิศครั้งที่ผ่านมา (ตัวหนาหมายถึงทีมชนะเลิศ)
  ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท 1 (1980)
  เรนเจอส์ 1 (2008)

สนามแข่งขัน

แก้
 
รามอน ซันเชซ ปิซฆวน ใน เซบิยา จะเป็นเจ้าภาพนัดชิงชนะเลิศ.

นี่จะเป็นแมตช์ยูโรปาลีกครั้งแรกที่จะจัดขึ้นที่สนามแห่งนี้. ก่อนหน้านี้เป็นเจ้าภาพ ยูโรเปียนคัพ นัดชิงชนะเลิศ 1986. เมืองเซบิยารับหน้าที่เป็นเจ้าภาพ ยูฟ่าคัพ นัดชิงชนะเลิศ 2003 ที่ สนามกีฬาลาการ์ตูฆา. สเปนเคยรับหน้าเสื่อเป้นเจ้าภาพมาแล้วสี่ครั้ง รวมไปถึงนัดชิงชนะเลิศยูฟ่าคัพ (ถือหนึ่งเลกใน 1977, 1985, 1986, และ 1988).

การคัดเลือกเป็นเจ้าภาพ

แก้

กระบวนการเสนอราคาแบบเปิดได้เปิดตัวไปในวันที่ 28 กันยายน ค.ศ. 2018 โดยยูฟ่าเพื่อเลือกสถานที่ของรอบชิงชนะเลิศของยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก, ยูฟ่ายูโรปาลีกและยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกหญิงในปี 2021 สมาคมมีเวลาจนถึงวันที่ 26 ตุลาคม 2018 เพื่อแสดงความสนใจและเสนอเอกสารจะต้องส่งภายในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2019.

ยูฟ่าได้ประกาศไว้เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018 นั้นสามสมาคมได้แสดงความสนใจที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันยูฟ่ายูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศ 2021,[6] และวันที่ 22 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2019 สองสมาคมได้ยื่นเอกสารก่อนเส้นตาย.[7]

ขั้นตอนสุดท้ายในกระบวนการเสนอราคาสำหรับนัดชิงชนะเลิศ
ประเทศ สนามกีฬา เมือง ความจุ หมายเหตุ
  จอร์เจีย บอริส ไปชัดเซ ดีนาโม อารีนา ทบิลีซี 54,202 เคยเป็นเจ้าภาพ ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2015
  สเปน รามอน ซันเชซ ปิซฆวน เซบิยา 43,883 เคยเป็นเจ้าภาพ ยูโรเปียนคัพ นัดชิงชนะเลิศ 1986

สมาคมดังต่อไปนี้แสดงความสนใจในการเป็นเจ้าภาพ แต่ในที่สุดก็ไม่เสนอราคา:

สนาม รามอน ซันเชซ ปิซฆวน ได้ถูกรับเลือกโดยคณะกรรมการบริหารยูฟ่าระหว่างการประชุมของพวกเขาในกรุง ลูบลิยานา, ประเทศสโลวีเนีย เมื่อวันที่ 24 กันยายน ค.ศ. 2019.[8][9]

เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน ค.ศ. 2020, คณะกรรมการบริหารยูฟ่าประกาศว่าเนื่องจากการเลื่อนและการย้ายที่ตั้งของ นัดชิงชนะเลิศ ค.ศ. 2020, เซบิยาจะเป็นเจ้าภาพรอบชิงชนะเลิศปี ค.ศ. 2022 แทน.[10]

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ

แก้

หมายเหตุ: ในตาราง, ผลการแข่งขันของผู้เข้าชิงชนะเลิศจะได้รับเป็นชื่อแรก (H = เหย้า; A = เยือน; N: กลาง).

  ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท รอบ   เรนเจอส์
ยูโรปาลีก แชมเปียนส์ลีก
บาย รอบคัดเลือก (EL, CL) คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดที่สอง
รอบคัดเลือกรอบสาม   มัลเมอ เอฟเอฟ 2–4 1–2 (A) 1–2 (H)
ยูโรปาลีก
รอบเพลย์ออฟ   อลาชเคิร์ต 1–0 1–0 (H) 0–0 (A)
คู่แข่งขัน ผล รอบแบ่งกลุ่ม คู่แข่งขัน ผล
  เฟแนร์บาห์แช 1–1 (H) นัดที่ 1   ลียง 0–2 (H)
  อันต์เวิร์ป 1–0 (A) นัดที่ 2   สปาร์ตาปราก 0–1 (A)
  โอลิมเบียโกส 3–1 (H) นัดที่ 3   บรอนด์บี 2–0 (H)
  โอลิมเบียโกส 2–1 (A) นัดที่ 4   บรอนด์บี 1–1 (A)
  อันต์เวิร์ป 2–2 (H) นัดที่ 5   สปาร์ตาปราก 2–0 (H)
  เฟแนร์บาห์แช 1–1 (A) นัดที่ 6   ลียง 1–1 (A)
ชนะเลิศ กลุ่ม ดี
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท 6 12
2   โอลิมเบียโกส 6 9
3   เฟแนร์บาห์แช 6 6
4   อันต์เวิร์ป 6 5
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า
ตารางคะแนน รองชนะเลิศ กลุ่่ม เอ
อันดับ ทีม เล่น คะแนน
1   ลียง 6 16
2   เรนเจอส์ 6 8
3   สปาร์ตาปราก 6 7
4   บรอนด์บี 6 2
แหล่งข้อมูล: ยูฟ่า
คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดที่สอง รอบแพ้คัดออก คู่แข่งขัน รวมผลสองนัด นัดแรก นัดที่สอง
บาย รอบแพ้คัดออกเพลย์ออฟ   โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 6–4 4–2 (A) 2–2 (H)
  เรอัลเบติส 3–2 2–1 (A) 1–1
(ต่อเวลา) (H)
รอบ 16 ทีมสุดท้าย   เรดสตาร์ เบลเกรด 4–2 3–0 (H) 1–2 (A)
  บาร์เซโลนา 4–3 1–1 (H) 3–2 (A) รอบก่อนรองชนะเลิศ   บรากา 3–2 0–1 (A) 3–1
(ต่อเวลา) (H)
  เวสต์แฮมยูไนเต็ด 3–1 2–1 (A) 1–0 (H) รอบรองชนะเลิศ   แอร์เบ ไลพ์ซิช 3–2 0–1 (A) 3–1 (H)

นัด

แก้

รายละเอียด

แก้

ทีม "เจ้าบ้าน" (สำหรับวัตถุประสงค์ในการจัดการ) จะได้รับการกำหนดขึ้นโดยการจับสลากเพิ่มเติมเกิดขึ้นหลังจากเสร็จสิ้นการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศและรอบรองชนะเลิศ.

ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท  1–1 (ต่อเวลาพิเศษ)  เรนเจอส์
รายงาน
ลูกโทษ
5–4
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท[4]
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
เรนเจอส์[4]
GK 1   เควิน ทรัพ
CB 35   ตูตา   58'
CB 18   อัลมามี ตูเร
CB 2   เอว็อง อึนดิคกา   100'
RM 36   อันสการ์ คเนาฟฟ์
CM 8   ฌิบริล โซว์   106'
CM 17   เซบัสเตียน โรเดอ (กัปตัน)   90'
LM 10   ฟิลิป คอสติช
AM 29   เยสเปอร์ ลินด์สตรอม   70'
AM 15   ดาอิชิ คามาดะ
CF 19   ราฟาเอล ซันโตส บอร์เร
ผู้เล่นสำรอง:
GK 31   เยนส์ กราห์ล
DF 22   ทิโมธี แชนด์เลอร์
DF 24   ดันนี ดา กอสตา
DF 25   คริสท็อเฟอร์ เลนซ์   100'
MF 6   คริสติยาน ยาคิช   90'
MF 7   อัจดิน ฮรูสติช   106'
MF 20   มาโกโตะ ฮาเซเบะ   58'
MF 27   อายเมน บาร์กอก
FW 9   แซม แลมเมอร์ส
FW 21   รักนาร์ อาเชอ
FW 23   เยนส์ เพ็ทเทอร์ เฮาเก   70'
FW 39   กงชาโล ปาเซียนเซีย
ผู้จัดการทีม:
  โอลิเวอร์ กลาสเนอร์
 
GK 1   อัลลัน มักเกรเกอร์
RB 2   เจมส์ ทาเวอร์เนียร์ (กัปตัน)
CB 6   คอนนอร์ โกลด์สัน
CB 3   แคลวิน บาสซีย์
LB 31   บอร์นา บารีชิช   117'
CM 8   ไรอัน แจ็ค   74'
CM 4   จอห์น ลุนด์สตรัม
RW 14   ไรอัน เคนต์
AM 23   สก็อตต์ ไรต์   73'   74'
LW 18   เกล็น คามารา   91'
CF 17   โจ อารีโบ   62'   101'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 28   ร็อบบี แมคครอรี
GK 33   จอน มักลาฟลิน
DF 26   เลออน บาโลกุน
DF 43   เลออน คิง
MF 9   อามาด ดียาโล
MF 10   สตีเวน เดวิส   74'
MF 16   แอรอน แรมซีย์   117'
MF 19   เจมส์ แซนด์ส   101'
MF 37   สกอตต์ อาร์ฟีลด์   91'
MF 51   อเล็กซ์ โลว์รี
FW 25   เคมาร์ รูเฟ   117'
FW 30   ฟาชิออน ซากาลา   74'   117'
ผู้จัดการทีม:
  โจฟันนี ฟัน โบรงก์ฮอสต์

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:[2]
Tomaž Klančnik (สโลวีเนีย)
Andraž Kovačič (สโลวีเนีย)
ผู้ตัดสินที่สี่:[2]
Srđan Jovanović (เซอร์เบีย)
ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
Pol van Boekel (เนเธอร์แลนด์)
ผู้ช่วยของผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ:[2]
Jure Praprotnik (สโลวีเนีย)
Alejandro Hernández Hernández (สเปน)
Roberto Díaz Pérez del Palomar (สเปน)

ข้อมูลในการแข่งขัน[11]

  • แข่งขันเวลาปกติ 90 นาที
  • ต่อเวลาพิเศษไปอีก 30 นาที เมื่อทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกจุดโทษ เพื่อหาผู้ชนะ
  • มีชื่อรายชื่อผู้เล่นสำรอง 12 คน
  • การเปลี่ยนตัวผู้เล่นสูงสุดห้าคน, กับอนุญาตเปลี่ยนผู้เล่นคนที่หกได้ในช่วงต่อเวลาพิเศษ[note 1]

สถิติ

แก้

ดูเพิ่ม

แก้

หมายเหตุ

แก้
  1. แต่ละทีมจะได้รับสิทธิ์สามครั้งที่จะได้เปลี่ยนตัวผู้เล่น, กับโอกาสครั้งที่สี่ในช่วงต่อเวลาพิเศษ, ไม่นับรวมการเปลี่ยนตัวผู้เล่นที่เกิดชึ้นในช่วงพักครึ่งแรก, ก่อนที่จะเริ่มต้นของช่วงต่อเวลาพิเศษและช่วงพักครึ่งเวลาแรกในการต่อเวลาพิเศษ.

อ้างอิง

แก้
  1. "Kevin Trapp named official UEFA Europa League final Hankook Player of the Match". UEFA.com. Union of European Football Associations. 18 May 2022. สืบค้นเมื่อ 18 May 2022.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 "Referee teams appointed for 2022 UEFA club competition finals". UEFA.com. Union of European Football Associations. 11 May 2022. สืบค้นเมื่อ 11 May 2022.
  3. 3.0 3.1 "Full Time Summary Final – Eintracht Frankfurt v Rangers" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 18 May 2022. สืบค้นเมื่อ 18 May 2022.
  4. 4.0 4.1 4.2 "Tactical Lineups – Final – Wednesday 18 May 2022" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 18 May 2022. สืบค้นเมื่อ 18 May 2022.
  5. "UEFA Europa Conference League: Who enters and when are the games?". UEFA.com. Union of European Football Associations. 2 December 2020. สืบค้นเมื่อ 3 December 2020.
  6. "11 associations interested in hosting 2021 club finals". UEFA.com. Union of European Football Associations. 1 November 2018.
  7. "9 associations bidding to host 2021 club finals". UEFA.com. Union of European Football Associations. 22 February 2019.
  8. "Seville to host 2021 UEFA Europa League final". UEFA.com. Union of European Football Associations. 24 September 2019. สืบค้นเมื่อ 24 September 2019.
  9. "UEFA Executive Committee agenda for Ljubljana meeting". UEFA.com. Union of European Football Associations. 17 September 2019. สืบค้นเมื่อ 17 September 2019.
  10. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ExCo 17 June
  11. "Regulations of the UEFA Europa League, 2021/22 Season". UEFA.com. Union of European Football Associations. 2021. สืบค้นเมื่อ 30 April 2021.
  12. 12.0 12.1 12.2 12.3 "Team statistics" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 18 May 2022. สืบค้นเมื่อ 18 May 2022.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้