ภัยพิบัติทางอากาศมิวนิก

โศกนาฏกรรมมิวนิก เกิดขึ้นเมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1958 เมื่อเครื่องบินของสายการบินบริติชยูโรเปียนแอร์เวย์ส เที่ยวบิน 609 พุ่งชนกับรันเวย์ของสนามบินมิวนิก-รีม ในมิวนิก ประเทศเยอรมนีตะวันตก โดยเครื่องบินลำดังกล่าวเป็นลำที่ผู้เล่นของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ชุดที่ได้รับการขนามนามว่า "บัสบีเบบส์" โดยสารอยู่ด้วย เหตุการณ์นี้มีผู้โดยสารเสียชีวิต 23 คน จากทั้งหมด 44 คน ซึ่ง 8 คนเป็นผู้เล่นของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ส่วนศพที่เหลือเป็นเจ้าหน้าที่สโมสร, แฟนบอล และนักข่าว นอกจากนี้ยังมีผู้ที่ได้รับบาดเจ็บเสียชีวิตที่โรงพยาบาลอีก 3 คน

โศกนาฏกรรมมิวนิก
สรุปอุบัติการณ์
วันที่6 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1958
สรุปพุ่งชนรันเวย์
จุดเกิดเหตุมิวนิก, เยอรมนีตะวันตก
ประเภทอากาศยานAirspeed AS-57 Ambassador
ดําเนินการโดยบริติชยูโรเปียนแอร์เวย์ส
ทะเบียนG-ALZU
ต้นทางท่าอากาศยานเบลเกรด ยูโกสลาเวีย
จุดพักสนามบินมิวนิก-รีม เยอรมนีตะวันตก
ปลายทางท่าอากาศยานแมนเชสเตอร์ อังกฤษ
ผู้โดยสาร38
ลูกเรือ6
เสียชีวิต23
บาดเจ็บ19

เบื้องหลัง

แก้

การพุ่งชน

แก้

ผู้เสียชีวิต

แก้

ลูกเรือ

แก้
  • เคน เรย์เมนต์, ผู้ช่วยนักบิน (เสียชีวิตที่โรงพยาบาลใน 3 สัปดาห์หลังจากนั้น)
  • ทอม เคเบิล, สจ๊วร์ตเครื่องบิน

ผู้โดยสาร

แก้
 
แผ่นป้ายที่ โอลด์แทรฟฟอร์ด เพื่อภัยพิบัติทางอากาศมิวนิก
 
นาฬิกามิวนิค ที่มุมตะวันออกเฉียงใต้ของโอลด์แทรฟฟอร์ด
ผู้เล่นของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
โค้ชของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
นักข่าว
ผู้โดยสารคนอื่น
  • เบลา มิคลาส, เอเยนต์บริษัททัวร์
  • วิลลี ซาตินอฟท์, แฟนบอลและเพื่อนของ แมตต์ บัสบี

ผู้รอดชีวิต

แก้

ลูกเรือ

แก้
  • มากาเร็ต เบลลิส, แอร์โฮสเตจ (เสียชีวิตในปี 1998)[1]
  • โรสแมรี เชเวอร์ตัน, แอร์โฮสเตจ
  • จอร์จ รอดเจอร์ส, เจ้าหน้าที่สื่อสาร (เสียชีวิตในปี 1997)[2]
  • เจมส์ เธนส์, กัปตันเครื่องบิน (เสียชีวิตในปี 1975)[3]

ผู้โดยสาร

แก้
ผู้เล่นของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
โค้ชของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
นักข่าวและช่างภาพ
ผู้โดยสารคนอื่น
  • เวรา ลูคิช และลูกสาว เวโรนา, ผู้โดยสารที่ แฮร์รี เกร็กก์ ช่วยเหลือ[10]
  • นางมิคลอส, ภรรยาของ เบลา มิคลอส
  • เอ็น โทมาเซวิช, ผู้โดยสาร

ผลกระทบ

แก้

ผู้เล่นของแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเสียชีวิตทันที 7 ราย และ ดันแคน เอ็ดเวิร์ด ซึ่งได้รับบาดเจ็บ เสียชีวิตในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ที่โรงพยาบาล หลังจากนั้น จอห์นนี เบอร์รี และ แจ็คกี บลันช์ฟลาวเวอร์ ได้เลิกเล่นฟุตบอลอย่างถาวร[11] ขณะที่ แมตต์ บัสบี ได้รับบาดเจ็บสาหัสต้องรักษาตัวที่โรงพยาบาลมากกว่า 2 เดือน[12]

การรำลึก

แก้

โอลด์แทรฟฟอร์ด

แก้

มิวนิก

แก้

ครบรอบ 40 ปี

แก้

ครบรอบ 50 ปี

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. Dix, Barry (8 August 2008). "Fly Past: Survivors of Munich". Hounslow Chronicle. Trinity Mirror Southern. สืบค้นเมื่อ 11 January 2009.
  2. "The 21st Survivor". Munich58.co.uk. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-08-28. สืบค้นเมื่อ 11 January 2009.
  3. Leroux, Marcus (30 January 2008). "Captain James Thain cleared of blame after the thawing of hostilities". The Times. Times Newspapers. สืบค้นเมื่อ 11 January 2009.[ลิงก์เสีย]
  4. Barnes et al., p. 66
  5. "Busby Babe loses battle against cancer". BBC News. 2 September 1998. สืบค้นเมื่อ 10 January 2009.
  6. "Busby Babe dies". BBC News. 7 March 1999. สืบค้นเมื่อ 10 January 2009.
  7. Wilson, Bill (4 February 2008). "Waiting for news from Munich". BBC News. สืบค้นเมื่อ 10 January 2009.
  8. "1969: Matt Busby retires from Man United". On This Day. 14 January. 14 January 2008. สืบค้นเมื่อ 11 January 2009.
  9. Glanville, Brian (22 July 2002). "Obituary: Frank Taylor". guardian.co.uk. Guardian News and Media. สืบค้นเมื่อ 11 January 2009.
  10. "Gregg's 'greatest save' - Munich remembered". BBC News. 4 February 2008. สืบค้นเมื่อ 7 October 2008.
  11. Hall, p. 340
  12. Barnes et al., p. 17

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้