ความหนาแน่นกระแสสี่มิติ
บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด |
เวกเตอร์ความหนาแน่นกระแสสี่มิติ (อังกฤษ: four-current) ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและทั่วไป คือเวอร์ชันซึ่งเป็นลอเรนซ์โคแวเรียนต์ (Lorentz covariant) ของเวกเตอร์ความหนาแน่นกระแสแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic current density)
เวกเตอร์ความหนาแน่นกระแสสี่มิตินิยามเหมือนกันในทุกระบบ โดย
โดยที่
- คืออัตราเร็วแสงในสุญญากาศ (speed of light in vacuum)
- คือความหนาแน่นประจุ (charge density)
- คือความหนาแน่นกระแสแม่เหล็กไฟฟ้า (electromagnetic current density)
ในทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ คำกล่าวของกฎอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (electric charge conservation law) (เมื่อเขียนในรูปสมการจะเรียกว่าสมการความต่อเนื่อง (continuity equation)) คือว่า
"ไดเวอร์เจนซ์แบบโลเร็นตซ์อินวาเรียนท์ (Lorentz invariant divergence) ของ เวกเตอร์ความหนาแน่นกระแสสี่มิติ เป็นศูนย์"
เมื่อ เป็นตัวดำเนินการ (operator) ถูกเรียกว่าเกรเดียนท์สี่มิติ (four-gradient) และกำหนดโดย บางครั้งสมการความต่อเนื่องข้างบนถูกเขียนในรูป
ในทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป สมการความต่อเนื่องดังกล่าวจะถูกเขียนในรูป
โดย semi-colon แทนอนุพันธ์โควาเรียนท์ (covariant derivative)
ดูเพิ่ม
แก้- เวกเตอร์สี่มิติ (four-vector)