คริสตจักรอัครทูตอาร์มีเนีย

คริสตจักรอัครทูตอาร์ม��เนีย (อาร์มีเนีย: Հայ Առաքելական Եկեղեցի, อักษรโรมัน: Hay Aṙak'elakan Yekeghetsi; อังกฤษ: Armenian Apostolic Church)[หมายเหตุ 1] เป็นคริสตจักรประจำชาติของชาวอาร์มีเนีย คริสตจักรอาร์มีเนียเป็นจารีตย่อยหนึ่งของออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์ และเป็นหนึ่งในสถาบันทางศาสนาคริสต์ที่เก่าแก่ที่สุด[5] โดยมีราชอาณาจักรอาร์มีเนียโบราณเป็นรัฐแรกที่ถือศาสนาคริสต์เป็นศาสนาประจำชาติภายใต้รัชสมัยของกษัตริย์ทิริดาเตสที่สาม แห่งราชวงศ์อาซาชิด ในต้นศตวรรษที่สี่[6][7]


คริสตจักรอัครทูตอาร์มีเนีย
อาร์มีเนีย: Հայ Առաքելական Եկեղեցի
อาสนวิหารเอจมียัตซิน โบสถ์หลักของศาสนจักร
กลุ่มศาสนาคริสต์ตะวันออก
ความโน้มเอียงออเรียนทัลออร์ทอดอกซ์
คัมภีร์เซปตัวจินต์, พันธสัญญาใหม่, ไบเบิลฉบับภาษาอาร์มีเนีย
เทววิทยาไมอาไฟซิทิสม์
แผนการปกครองอิปิสโคปัล
การปกครองMother See of Holy Etchmiadzin
หัวหน้าคาทอลิกอสแห่งชาวอาร์มีเนียทั้งปวง กาเรกินที่สอง
สมาคมสภาคริสตจักรโลก[1]
ภูมิภาคประเทศอาร์มีเนีย, ชาวอาร์มีเนียพลัดถิ่น
ภาษาอาร์มีเนียคลาสสิก
พิธีกรรมจารีตอาร์มีเนีย
ศูนย์กลางอาสนวิหารเอตมียัตซิน, พระอาณาจักรพระมารดาแอจมียัตซินศักดิ์สิทธิ์, วาการ์ชาปัต, ประเทศอาร์มีเนีย
ผู้ก่อตั้งนักบุญเกรเกอรีผู้ให้ความกระจ่าง
อัครทูต บารโธโลมิว และ ทัดเดอุสแห่งเอเดสซา
ต้นกำเนิดป. ศตวรรษที่ 1
ราชอาณาจักรอาร์มีเนียโบ���าณ
แยกตัวจากเขตอัครบิดรสากล ในสังคายนาดวินที่สอง (554)[2]
สมาชิก9,000,000 (ระบุตน)[3]
ชื่ออื่นคริสตจักรอาร์มีเนีย
คริสต์จักรอาร์มีเนียนออร์ทอดอกซ์
เว็บไซต์ทางการwww.armenianchurch.org

ชื่ออื่น ๆ ของคริสตจักรได้แก่ คริสตจักรออาร์มีเนียนออร์ทอดอกซ์ (Armenian Orthodox Church) และ คริสตจักรเกรเกอรีอาร์มีเนีย (Armenian Gregorian Church) และในบางครั้งอาจปรากฏเรียกสั้น ๆ ว่า คริสตจักรอาร์มีเนีย (Armenian Church)

หมายเหตุ

แก้
  1. Officially อาร์มีเนีย: Հայաստանեայց Առաքելական Սուրբ Եկեղեցի, อักษรโรมัน: Hayastaniayts Aṙak̕elakan Surb Yekeghetsi[4]

อ้างอิง

แก้
  1. Armenian Apostolic Church (Mother See of Holy Etchmiadzin) and Armenian Apostolic Church (Holy See of Cilicia) in the World Council of Churches
  2. Panossian, Razmik (2006). The Armenians: From Kings and Priests to Merchants and Commissars. New York: Columbia University Press. pp. 43–44. ISBN 9780231139267. The Armenian Apostolic Church formally became autocephalous—i.e. independent of external authority—in 554 by severing its links with the patriarchate of Constantinople.
  3. "Catholicos of All Armenians". armenianchurch.org. Mother See of Holy Etchmiadzin. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-10. สืบค้นเมื่อ 2021-05-02.
  4. ""ՀԱՅԱՍՏԱՆՅԱՅՑ ԱՌԱՔԵԼԱԿԱՆ ՍՈՒՐԲ ԵԿԵՂԵՑԻ" ԿԿ - HAYASTANYAYC ARAQELAKAN SURB YEKEGHECI RO". e-register.am. Electronic Register. Government of the Republic of Armenia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-11-30. สืบค้นเมื่อ 2021-05-02.
  5. Augusti, Johann Christian Wilhelm; Rheinwald, Georg Friedrich Heinrich; Siegel, Carl Christian Friedrich. The Antiquities of the Christian Church. p. 466.
  6. Scott, Michael (2016-11-01). Ancient Worlds: A Global History of Antiquity. Basic Books. ISBN 978-0-465-09473-8.
  7. Grousset, René (1984) [1947]. Histoire de l'Arménie (ภาษาฝรั่งเศส). Payot. p. 122.. Estimated dates vary from 284 to 314. Garsoïan (op.cit. p. 82), following the research of Ananian, favours the latter.

บรรณานุกรม

แก้

อ่านเพิ่ม

แก้

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้