กีฬาเคอร์ลิงในโอลิมปิกฤดูหนาว
กีฬาเคอร์ลิง ได้รับการบรรจุเป็นกีฬาที่แข่งขันในโอลิมปิกฤดูหนาว ในปี 1924 (พ.ศ. 2468) ณ เมืองชามอนี เป็นครั้งแรก[1] แต่การแข่งขันไม่ได้ถูกพิจารณาผลการแข่งขันจากคณะกรรมการโอลิมปิกสากล จนกระทั่งในปี 2006 (พ.ศ. 2549) กีฬาเคอร์ลิงเคยเป็นกีฬาสาธิตในปี 1932 (พ.ศ. 2476), 1988 (พ.ศ. 2531) และ1992 (พ.ศ. 2535) จนกระทั่งได้ถูกบรรจุอย่างเป็นทางการในปี 1998 (พ.ศ. 2541) ณ เมืองนะงะโนะ
กีฬาเคอร์ลิงในโอลิมปิกฤดูหนาว | |
---|---|
สัญลักษณ์กีฬาเคอร์ลิง | |
หน่วยงาน | ดับบลิวซีเอฟ |
รายการ | 3 (ชาย: 1; หญิง: 1; ผสม: 1) |
การแข่งขัน | |
หมายเหตุ: กีฬาสาธิตปีที่ระบุด้วยตัวเอียง | |
ในปัจจุบันกีฬาเคอร์ลิงในโอลิมปิกฤดูหนาวได้จัดการแข่งขันทั้งหมด 3 รายการ อาทิ ทีมชาย, ทีมหญิง และทีมผสม ซึ่งทีมชาย และทีมหญิง ได้ถูกบรรจุตั้งแต่แรกเริ่ม แต่ทีมผสมนั้นเพิ่งจะถูกบรรจุในโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 (พ.ศ. 2561) ซึ่งได้ถูกรับรองจากคณะกรรมการโอลิมปิกสากลในปี ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558)[2] หลังจากที่ถูกปฏิเสธไปในการบรรจุเข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 (พ.ศ. 2553)[3][4]
นอกจากนี้ยังมีกีฬาที่คล้ายคลึงกับเคอร์ลิง อย่าง กีฬาสต็อกน้ำแข็ง หรือเคอร์ลิงบาวาเรียน (Eisstockschießen ในภาษาเยอรมัน) ซึ่งเป็นกีฬาสาธิตในปี 1936 และ1964[5][6]
ประเทศที่เข้าร่วม
แก้ทีมชาย
แก้ประเทศ | 24 | 28 | 02 | 06 | 10 | 14 | 18 | ปี |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
แคนาดา | – | 4 | 6 | |||||
จีน | – | – | – | – | 8 | 4 | – | 2 |
เดนมาร์ก | – | – | 7 | – | 9 | 6 | 10 | 4 |
ฟินแลนด์ | – | – | 5 | – | – | – | 2 | |
ฝรั่งเศส | – | 10 | – | 7 | – | – | 3 | |
เยอรมนี | – | 8 | 6 | 8 | 6 | 10 | – | 5 |
สหราชอาณาจักร | 7 | 8 | 4 | 5 | 5 | 7 | ||
อิตาลี | – | – | – | 7 | – | – | 9 | 2 |
ญี่ปุ่น | – | 6 | – | – | – | – | 8 | 2 |
นิวซีแลนด์ | – | – | – | 10 | – | – | – | 1 |
นอร์เวย์ | – | 5 | 5 | 6 | 6 | |||
รัสเซีย | – | – | – | – | – | 7 | – | 1 |
เกาหลีใต้ | – | – | – | – | – | – | 7 | 1 |
สวีเดน | 5 | 4 | 9 | 4 | 7 | |||
สวิตเซอร์แลนด์ | – | 6 | 8 | 6 | ||||
สหรัฐ | – | 4 | 9 | 10 | 9 | 6 |
- หมายเหตุ
- ในปี 1924 มีทีมที่เข้าร่วมแค่ 3 ทีม
ทีมหญิง
แก้ประเทศ | 28 | 02 | 06 | 10 | 14 | 18 | ปี |
---|---|---|---|---|---|---|---|
แคนาดา | 6 | 6 | |||||
จีน | – | – | – | 7 | 5 | 3 | |
เดนมาร์ก | 9 | 9 | 5 | 6 | 10 | 6 | |
เยอรมนี | 8 | 5 | – | 6 | – | – | 3 |
สหราชอาณาจักร | 4 | 5 | 7 | 4 | 6 | ||
อิตาลี | – | – | 10 | – | – | – | 1 |
ญี่ปุ่น | 6 | 8 | 7 | 8 | 5 | 6 | |
นอร์เวย์ | 5 | 7 | 4 | – | – | – | 3 |
นักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย | – | – | – | – | – | 9 | 1 |
รัสเซีย | – | 10 | 6 | 9 | 9 | – | 4 |
เกาหลีใต้ | – | – | – | – | 8 | 2 | |
สวีเดน | 6 | 6 | |||||
สวิตเซอร์แลนด์ | – | 4 | 4 | 7 | 5 | ||
สหรัฐ | 7 | 4 | 8 | 10 | 10 | 8 | 6 |
คู่ผสม
แก้ประเทศ | 18 | ปี |
---|---|---|
แคนาดา | 1 | |
จีน | 4 | 1 |
ฟินแลนด์ | 7 | 1 |
นอร์เวย์ | 1 | |
นักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย | DQB | 1 |
เกาหลีใต้ | 5 | 1 |
สวิตเซอร์แลนด์ | 1 | |
สหรัฐ | 6 | 1 |
ตารางเหรียญ
แก้อันดับที่ | ประเทศ | ทอง | เงิน | ทองแดง | รวม |
---|---|---|---|---|---|
1 | แคนาดา (CAN) | 6 | 3 | 2 | 11 |
2 | สวีเดน (SWE) | 3 | 3 | 2 | 8 |
3 | สหราชอาณาจักร (GBR) | 2 | 1 | 1 | 4 |
4 | สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) | 1 | 3 | 3 | 7 |
5 | นอร์เวย์ (NOR) | 1 | 1 | 2 | 4 |
6 | สหรัฐ (USA) | 1 | 0 | 1 | 2 |
7 | เดนมาร์ก (DEN) | 0 | 1 | 0 | 1 |
ฟินแลนด์ (FIN) | 0 | 1 | 0 | 1 | |
เกาหลีใต้ (KOR) | 0 | 1 | 0 | 1 | |
10 | จีน (CHN) | 0 | 0 | 1 | 1 |
ฝรั่งเศส (FRA) | 0 | 0 | 1 | 1 | |
ญี่ปุ่น (JPN) | 0 | 0 | 1 | 1 | |
รวม | 14 | 14 | 14 | 42 |
สรุปเหรียญรางวัล
แก้ทีมชาย
แก้ปี | เหรียญทอง | เหรียญเงิน | เหรียญทองแดง |
---|---|---|---|
1924 ชามอนี | สหราชอาณาจักร (GBR) | สวีเดน (SWE) | ฝรั่งเศส (FRA) |
1928 → 1994 | ไม่ถูกบรรจุในกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว | ||
1998 นะงะโนะ | สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) | แคนาดา (CAN) | นอร์เวย์ (NOR) |
2002 ซอลต์เลกซิตี | นอร์เวย์ (NOR) | แคนาดา (CAN) | สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) |
2006 ตูริน | แคนาดา (CAN) | ฟินแลนด์ (FIN) | สหรัฐ (USA) |
2010 แวนคูเวอร์ | แคนาดา (CAN) | นอร์เวย์ (NOR) | สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) |
2014 โซชิ | แคนาดา (CAN) | สหราชอาณาจักร (GBR) | สวีเดน (SWE) |
2018 พย็องชัง | สหรัฐ (USA) | สวีเดน (SWE) | สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) |
ทีมหญิง
แก้ปี | เหรียญทอง | เหรียญเงิน | เหรียญทองแดง |
---|---|---|---|
1998 นะงะโนะ | แคนาดา (CAN) | เดนมาร์ก (DEN) | สวีเดน (SWE) |
2002 ซอลต์เลกซิตี | สหราชอาณาจักร (GBR) | สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) | แคนาดา (CAN) |
2006 ตูริน | สวีเดน (SWE) | สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) | แคนาดา (CAN) |
2010 แวนคูเวอร์ | สวีเดน (SWE) | แคนาดา (CAN) | จีน (CHN) |
2014 โซชิ | แคนาดา (CAN) | สวีเดน (SWE) | สหราชอาณาจักร (GBR) |
2018 พย็องชัง | สวีเดน (SWE) | เกาหลีใต้ (KOR) | ญี่ปุ่น (JPN) |
คู่ผสม
แก้ปี | เหรียญทอง | เหรียญเงิน | เหรียญทองแดง |
---|---|---|---|
2018 พย็องชัง | แคนาดา (CAN) | สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) | นอร์เวย์ (NOR) |
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้- ↑ Heidrick, Shaun (2014-01-08). "Sochi 2014 Olympic Winter Games: A History of Curling at the Games - Yahoo Sports". Sports.yahoo.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-27. สืบค้นเมื่อ 2014-02-01.
- ↑ "Mixed Doubles curling confirmed for PyeongChang 2018 Olympics". World Curling Federation. 8 June 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-11. สืบค้นเมื่อ 8 June 2015.
- ↑ "Olympic Programme Updates". Olympic.org. 2006-11-28. สืบค้นเมื่อ 2008-08-20.
- ↑ National Lead Writer (2014-01-27). "Sochi Olympics: Popularity, Buzz and Drama of Curling with NBC's Andrew Catalon". Bleacher Report. สืบค้นเมื่อ 2014-02-01.
- ↑ Hojnacki, Sean (2013-12-20). "Winter Olympics 2014: 10 Things to Know About Curling - Yahoo Sports". Sports.yahoo.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-04-03. สืบค้นเมื่อ 2014-02-01.
- ↑ Briscoe, Jeff (2014-01-08). "Rules of Curling in the Winter Olympics - Yahoo Sports". Sports.yahoo.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-03-02. สืบค้นเมื่อ 2014-02-01.