กองทัพโปแลนด์
กองทัพโปแลนด์ (โปแลนด์: Siły Zbrojne Rzeczypospolitej Polskiej, อักษรย่อSZ RP; คำเรียกโดยทั่วไป, Wojsko Polskie, อักษรย่อ WP หมายถึง "ทหารโปแลนด์") เป็นกองกำลังทหารของสาธารณรัฐโปแลนด์. มีต้นกำเนิดในศตวรรษที่ 19
กองทัพสาธารณรัฐโปแลนด์ | |
---|---|
Siły Zbrojne Rzeczypospolitej Polskiej | |
| |
คำขวัญ | พระเจ้า, เกียรติยศ, ปิตุภูมิ (Bóg, Honor, Ojczyzna) |
ก่อตั้ง | 1918 |
รูปแบบปัจจุบัน | มกราคม ค.ศ. 1990 |
เหล่า | |
กองบัญชาการ | วอร์ซอ |
เว็บไซต์ | www |
ผู้บังคับบัญชา | |
ประธานาธิบดี ผู้บัญชาการสูงสุด | อันด์แชย์ ดูดา |
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม | Mariusz Błaszczak |
เสนาธิการทั่วไป | นายพล Rajmund Andrzejczak |
กำลังพล | |
อายุเริ่มบรรจุ | 18 ปี |
การเกณฑ์ | ไม่มี (ตั้งแต่มกราคม ค.ศ. 2009) |
ยอดประจำการ | 160,000 (125,000 + 35,000 WOT) (2022)[1] |
ยอดสำรอง | 1,700,000 (2021) [2] |
ยอดกำลังนอกประเทศ | 5,000 (2021)[3] |
รายจ่าย | |
งบประมาณ | 57.8 พันล้านซวอตือ (14.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) (2022)[4] |
ร้อยละต่อจีดีพี | 2.2% (2021) |
อุตสาหกรรม | |
แหล่งผลิตในประเทศ | Polish Defence Holding WZM S.A. PZL-Świdnik HSW S.A. OBRUM |
บทความที่เกี่ยวข้อง | |
ประวัติ | List of Polish wars พัฒนาการของกองทัพโปแลนด์ |
���ศ | ยศทหาร เครื่องอิสริยาภรณ์ |
กองทัพโปแลนด์ประกอบด้วย กองทัพบก (Wojska Lądowe), กองทัพเรือ (Marynarka Wojenna), กองทัพอากาศ (Siły Powietrzne), หน่วยรบพิเศษ (Wojska Specjalne) และ กองกำลังรักษาดินแดน (Wojska Obrony Terytorialnej) ภายใต้การบังคับบัญชาโดย กระทรวงกลาโหม (Ministerstwo Obrony Narodowej).
ตั้งแต่ ค.ศ. 2002 ถึง ค.ศ. 2014, กองทัพโปแลนด์ได้เข้าร่วมกองกำลังรักษาความปลอดภัยนานาชาติ (ISAF) ใน อัฟกานิสถาน ภายใต้ปฏิบัติการขององค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ. โปแลนด์มีกองกำลังที่เข้าร่วมปฏิบัติการของ ISAF ที่มีกำลังพลเข้าร่วมมากที่สุด ภายหลังจากการเข้าเป็นสมาชิกนาโต.
กองกำลังของโปแลนด์ได้เข้าร่วมปฏิบัติการในสงครามอิรักตั้งแต่ ค.ศ. 2003 ถึง 2008 ภายใต้ปฏิบัติการของ MND-CS ตั้งฐานปฏิบัติการทางภาคกลางตอนใต้ของอิรัก มีกองกำลังของอิรักที่ประจำการทั้งหมด 5 ล้านนาย, พื้นที่ 65,632 ตร.กม. มีประเทศเข้าร่วมปฏิบัติการทั้งหมด 23 ประเทศ จำนวน 8,500 นาย
ประวัติ
แก้สงครามโลกครั้งที่ 2
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
สงครามเย็น
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
โครงสร้าง
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ภารกิจ
แก้ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ดูเพิ่ม
แก้อ้างอิง
แก้เชิงอรรถ
แก้- ↑ IISS 2021, p. 66.
- ↑ "Rezerwistów jest coraz mniej i są coraz starsi".
- ↑ IISS 2020, p. 136.
- ↑ Szopa, Maciej (January 20, 2020). "Poland Increases Defence Expenditure By Over 11% in 2020". Defence24.com. สืบค้นเมื่อ April 4, 2021.
บรรณานุกรม
แก้- IISS (2020). The Military Balance 2020. Routledge. ISBN 978-0367466398.
- IISS (2021). The Military Balance 2021. Routledge. ISBN 978-1032012278.
- Rafał Domisiewicz, Consolidating the Security Sector in Post-Conflict States: Polish Lessons from Iraq, Austrian Ministry of Foreign Affairs.
- Andrew A. Michta, Red Eagle: The Army in Polish Politics 1944–1988, Hoover Press, 1990.
- "Poland: Defense Strategy 2009". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-17. สืบค้นเมื่อ 2015-07-30.
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)
หนังสืออ่านเพิ่ม
แก้- Remigiusz Wilk, "Work in Progress", Jane's Defence Weekly, 20 August 2012
แหล่งข้อมูลอื่น
แก้- Official website of the Ministry of National Defense (ในภาษาโปแลนด์)
- Official website of the Polish General Staff (ในภาษาโปแลนด์)
- Official website of the Armed Forces Operational Command (ในภาษาโปแลนด์)
- Official website of the Military Gendarmerie (ในภาษาโปแลนด์)
- Pictures of the Polish Army in Iraq (2003) ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (เก็บถาวร พฤศจิกายน 27, 2005)
- Polish forces in the West – study of the Polish participation in the liberation of Western Europe ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (เก็บถาวร กุมภาพันธ์ 8, 2016)